Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กณฺหปฏิปทา, ปฏิปทา, กณฺห , then กณห, กณฺห, กณหปฏปทา, กณฺหปฏิปทา, กณฺหา, ปฏปทา, ปฏิปทา .

Eng-Thai Lexitron Dict : กณฺหปฏิปทา, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : กณฺหปฏิปทา, 4 found, display 1-4
  1. ปฏิปทา : (N) ; mode of practices ; Related:way, path, behavior, conduct, course, procedure ; Syn:ทางดำเนิน, ความประพฤติ, วิถีปฏิบัติ, นฤติการณ์ ; Samp:พระสงฆ์ต้องมีปฏิปทาไปในทางที่ดี
  2. มัชฌิมาปฏิปทา : (N) ; middle path ; Related:middle way, moderate practice ; Syn:ทางสายกลาง ; Def:ความประพฤติสายกลาง คือ ไม่ตึงเกินไปและไม่หย่อนเกินไป, ข้อปฏิบัติปานกลาง คือ มรรค 8 ; Samp:มัชฌิมาปฏิปทาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตที่สำคัญของชาวพุทธ
  3. ทางสายกลาง : (N) ; moderate practice ; Syn:มัชฌิมาปฏิปทา ; Def:วิธีปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปข้างใดข้างหนึ่ง ; Samp:พระพุทธเจ้าสอนให้มนุษย์เดินอยู่บนทางสายกลาง
  4. เจริญรอย : (V) ; follow ; Related:observe the precepts, behave, track, trace ; Syn:ปฏิบัติตาม, ประพฤติตาม ; Samp:พลเมืองไทยหลายท่านเจริญรอยตามพระพุทธปฏิปทานี้

Royal Institute Thai-Thai Dict : กณฺหปฏิปทา, 7 found, display 1-7
  1. ปฏิปทา : [-ปะทา] น. ทางดําเนิน; ความประพฤติ. (ป.).
  2. มัชฌิมาปฏิปทา : น. ทางสายกลาง. (ป.).
  3. มัชฌิมาปฏิปทา : ดู มัชฌิม-.
  4. ทางสายกลาง : น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางที่จะนำไปสู่ความ ดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง; การปฏิบัติที่ไม่ตึงนักไม่หย่อนนัก, การปฏิบัติที่ไม่ตึงไปทางใด ทางหนึ่ง.
  5. มรรค, มรรค-, มรรคา : [มัก, มักคะ-, มันคา] น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ - ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ - ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา - การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ - การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ - การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ - ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ - ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ -ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. (ส. มารฺค; ป. มคฺค).
  6. อริยสัจ : น. ความจริงของพระอริยะ, ความจริงอันประเสริฐ; ชื่อ ธรรมสําคัญหมวดหนึ่งในพระพุทธศาสนา มี ๔ ข้อ คือ ๑. ทุกข์ ๒. ทุกขสมุทัย (เหตุให้เกิดทุกข์) ๓. ทุกขนิโรธ (ความดับทุกข์) และ ๔.ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา หรือ มรรค (ทางแห่งความดับทุกข์). (ป. อริยสจฺจ).
  7. อัษฎางคิกมรรค : [อัดสะดางคิกะมัก] น. ทางปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ ตามหลักพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ เรียกว่า อริยมรรค มีองค์ ๘ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง.

Budhism Thai-Thai Dict : กณฺหปฏิปทา, more than 5 found, display 1-5
  1. ปฏิปทา : ทางดำเนิน, ความประพฤติ, ข้อปฏิบัติ
  2. ปฏิปทา : การปฏิบัติของท่านผู้ได้บรรลุธรรมพิเศษ มี ๔ ประเภท คือ ๑.ทุกฺขา ปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา ปฏิบัติลำบาก ทั้งรู้ได้ช้า ๒.ทุกฺขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา ปฏิบัติยาก แต่รู้โดยเร็ว ๓.สุขา ปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา ปฏิบัติสะดวก แต่รู้ได้ช้า ๔.สุขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา ปฏิบัติสะดวก ทั้งรู้ได้เร็ว
  3. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ : ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องเห็นทางปฏิบัติ ได้แก่ วิปัสสนาญาณ ๙ (ข้อ ๖ ในวิสุทธิ ๗)
  4. ปฏิปทานุตตริยะ : การปฏิบัติอันยอดเยี่ยม ได้แก่ การปฏิบัติธรรมที่ได้เห็นแล้วในข้อทัสสนานุตตริยะ ทั้งส่วนที่จะพึงละและพึงบำเพ็ญ ดู อนุตตริยะ
  5. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา : ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ หมายถึงมรรคมีองค์ ๘ เรียกสั้นๆ ว่า มรรค
  6. Budhism Thai-Thai Dict : กณฺหปฏิปทา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : กณฺหปฏิปทา, more than 5 found, display 1-5
  1. กณฺหปฏิปทา : อิต. ปฏิปทาอันเลวทราม, ทางที่ชั่ว
  2. ปฏิปทา : อิต. ปฏิปทา, ข้อปฏิบัติ, แนวทางความประพฤติ, ทางปฏิบัติ
  3. กณฺห : (วิ.) ชั่ว, ดำ, มืด, กฤษณะ (ดำ), เขียวคราม.
  4. กณฺหมคฺค : ป. ดู กณฺหปฏิปทา
  5. กณฺหตุณฺฑ : (ปุ.) สัตว์มีปากดำ, ชนี. วิ. กณฺหํ ตุณฺหํ มุขํ ยสฺส โส กณฺหตุณฺโฑ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : กณฺหปฏิปทา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : กณฺหปฏิปทา, 2 found, display 1-2
  1. กึ่งเดือนข้างแรม : กณฺหปกฺโข [ป.]
  2. บาป : ปาปํ, กิพฺพิสํ, อกุสลํ, ทุจฺจริตํ, กณฺห

(0.1744 sec)