กรณิย : (ปุ.) ถั่วราชมาศ, ถั่วทอง.
กรณีย : (นปุ.) กิจอัน...พึงทำ. กรรม...อันพึง ทำ, กิจที่ควรทำ, กิจที่พึงทำ, กิจที่ต้องทำ, กิจจำเป็น, กรัณย์. กรฺ กรเณ, อนีโย, นสฺส ณตฺตํ. ที่เป็นกิริยา ก็เป็น กรณีย เหมือนกัน.
กรณียตา : (อิต.) ความเป็นแห่งกิจอัน..พึงทำ, ฯลฯ.
กึกรณีย, กิงฺกรณีย : นป. กิจที่ควรทำอะไรๆ, ธุรกิจ, หน้าที่
พหุกรณีย : ค. มีกิจที่จะต้องทำมาก, มีธุระมาก;
อญฺชลิกรณีย : ค. อันควรแก่การกราบไหว้
อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.