Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ก้อนหิน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ก้อนหิน, 4 found, display 1-4
  1. stone : (N) ; ก้อนหิน ; Related:หิน ; Syn:rock
  2. missile : (N) ; สิ่งที่ขว้าง ปา หรือยิงออกไป เช่น ก้อนหิน จรวด ; Syn:projectile, cartride, rocket

Thai-Eng Lexitron Dict : ก้อนหิน, 2 found, display 1-2
  1. ก้อนหิน : (N) ; stone ; Related:rock ; Syn:หิน ; Samp:ก้อนหินเหล่านี้ได้มาจากการระเบิดภูเขา ; Unit:ก้อน
  2. ลูกหิน : (N) ; marble ; Syn:ก้อนหิน ; Samp:ลูกหินเป็นอุปกรณ์ในการเล่นหมากเก็บ ; Unit:ลูก

Royal Institute Thai-Thai Dict : ก้อนหิน, 4 found, display 1-4
  1. กอดแข้งกอดขา, กอดมือกอดตีน : ก. ประจบประแจง. ว. เดิม, เริ่ม, ลําดับแรก, เช่น แต่ก่อน, ถ้าใช้ประกอบหลังคํานาม บอกเวลา หมายความว่า ล่วงมาแล้ว เช่น วันก่อน เดือนก่อน, ถ้าใช้ประกอบหน้าคํานามบอกเวลา หมายความว่า ยังไม่มาถึง เช่น ก่อนเที่ยง, ใช้ประกอบหลังคํากริยา บางกรณีหมายความว่า ให้ระงับยับยั้งไว้ชั่วคราว เช่น หยุดก่อน รอก่อน, บางกรณี หมายความว่า ล่วงหน้า เช่น ไปก่อน. น. คําบอกลักษณะของเล็ก ๆ ที่เกาะหรือติดรวมกันแน่น ไม่กําหนดรูปแน่นอน โดยมากมีลักษณะค่อนข้างกลม เช่น ข้าวเกาะกันเป็นก้อน, เรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ก้อนข้าว; สิ่งที่แยกหรือแตกออกจากสิ่งใหญ่ ไม่กําหนดรูปแน่นอน โดยมากมีลักษณะค่อนข้างกลม เช่น ก้อนอิฐ ก้อนหิน ก้อนดิน; ลักษณนามเรียกของเช่นนั้น เช่น ข้าว ๓ ก้อน หิน ๒ ก้อน; โดยปริยายหมายถึง จํานวนรวม เช่น ได้เป็นเงินก้อน; (ถิ่น-ปักษ์ใต้) เงิน ๑ สลึง (ที่สงขลามีค่า = ๑๕ สตางค์).
  2. ก้อน : น. คําบอกลักษณะของเล็ก ๆ ที่เกาะหรือติดรวมกันแน่น ไม่กําหนดรูปแน่นอน โดยมากมีลักษณะค่อนข้างกลม เช่น ข้าวเกาะกันเป็นก้อน, เรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ก้อนข้าว; สิ่งที่แยกหรือแตกออกจากสิ่งใหญ่ ไม่กําหนดรูปแน่นอน โดยมากมีลักษณะค่อนข้างกลม เช่น ก้อนอิฐ ก้อนหิน ก้อนดิน; ลักษณนามเรียกของเช่นนั้น เช่น ข้าว ๓ ก้อน หิน ๒ ก้อน; โดยปริยายหมายถึง จํานวนรวม เช่น ได้เป็นเงินก้อน; (ถิ่น-ปักษ์ใต้) เงิน ๑ สลึง (ที่สงขลามีค่า = ๑๕ สตางค์).
  3. ผลา : [ผฺลา] น. ง้าว; ก้อนหิน. ว. กล้า; คม.
  4. วงเล็บ : น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ( ) สําหรับใช้กันข้อความ ที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น และข้อความในระหว่างวงเล็บ นั้นจะอ่านหรือเว้นเสียก็ได้ ไม่ทำให้เนื้อความนอกจากนั้นเสียไป เช่น จึงสรุปได้ว่ามนุษย์หรือขันธ์ ๕ นั้น ได้สร้างโลภะ(ความอยาก ได้) โทสะ(ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตัวเองทั้งสิ้น, ใช้กันข้อความซึ่งบอกที่มาของคำหรือข้อความ เช่น สิลา น. หิน, ก้อนหิน. (ป.; ส. ศิลา); ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ ลายมือชื่อ เช่น ลายมือชื่อ (นายเสริม วินิจฉัยกุล) ลายมือชื่อ (กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์), ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็น หัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลข ที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรม สามค่ำเป็นสำคัญ(๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือ สัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 b2 = (a + b)(a b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า.

Budhism Thai-Thai Dict : ก้อนหิน, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ก้อนหิน, 6 found, display 1-6
  1. ปารารุก : นป. หิน, ก้อนหิน
  2. มรุมฺพา : อิต. ก้อนกรวด, ก้อนหิน
  3. อมฺภ : (ปุ.) หิน, ก้อนหิน, ศิลา. อมฺ คติยํ, โภ.อภิวาสทฺเท, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  4. อสฺม : (ปุ.) ศิลา, หิน, ก้อนหิน.วิ. อสฺสเตติอสฺมา. อสุ เขปเน, พยฺาปเน วา, โม.ลบอุแจกวิภัติตามแบบราช.
  5. สิลาคุฬ : ป. ก้อนหิน, ลูกหิน
  6. อฏฺฐิลฺล : ป. ก้อนหิน, ก้อนกรวด

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ก้อนหิน, 1 found, display 1-1
  1. ก้อนหิน : ปาสาโณ, สิลา

(0.0339 sec)