Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขี่ม้า , then ขมา, ขี่ม้า .

Eng-Thai Lexitron Dict : ขี่ม้า, 13 found, display 1-13
  1. get onto : (PHRV) ; ขี่ม้า ; Related:ขึ้นรถ ; Syn:aligh from
  2. saddle : (VI) ; ขี่บนหลังสัตว์ (เช่น ขี่ม้า)
  3. gallop : (VI) ; ควบม้า ; Related:ควบ, วิ่งห้อ, ขี่ม้า ; Syn:hasten, hurry, speed ; Ant:creep, crawl
  4. gallop : (VT) ; ควบม้า ; Related:ควบ, วิ่งห้อ, ขี่ม้า ; Syn:hasten, hurry, speed
  5. crock 3 : (N) ; เขม่า ; Syn:carbon black, lampback, smut
  6. soot : (N) ; เขม่า ; Syn:carbon, smoke
  7. walk on air : (IDM) ; มีความสุขมากๆ
  8. apologise : (VT) ; ขอโทษ ; Related:ขอขมา, ขอรับผิด, ขออภัย, ขอประทานโทษ, แสดงความเสียใจ ; Syn:apologize
  9. apologize : (VT) ; ขอโทษ ; Related:ขอขมา, ขอรับผิด, ขออภัย, ขอประทานโทษ, แสดงความเสียใจ ; Syn:apologise
  10. apology : (N) ; คำขอโทษ ; Related:การขอโทษ, การขอขมา, การขออภัย ; Syn:excuse, regrets
  11. lampblack : (N) ; เขม่าดำ (ที่เกิดจากการเผาไหม้ของน้ำมันหรือก๊าซ) ; Related:เขม่า, ขี้เขม่า
  12. pardon : (N) ; การขอโทษ ; Related:การขอขมา, การกล่าวขอโทษ, การขออภัย
  13. smoke : (N) ; ควัน ; Related:ควันบุหรี่, เขม่า, หมอกควัน ; Syn:brume, cloud, fog

Thai-Eng Lexitron Dict : ขี่ม้า, 13 found, display 1-13
  1. ขี่ม้า : (V) ; ride a horse ; Related:be on horse back ; Def:นั่งคร่อมบนหลังม้าเพื่อบังคับม้าให้เดินหรือวิ่งไป ; Samp:เธอต้องไปหัดขี่ม้าให้สมบทบาทของการแสดง
  2. ปิกนิก : (N) ; picnic ; Def:การพากันไปเที่ยวชั่วระยะเวลาสั้นๆ และมีของกินไปเลี้ยงกันด้วย ; Samp:นักศึกษาที่มหาวิทยาลัยมาร์แชลสามารถเลือกที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ได้มากมาย ขี่ม้า โยนโบว์ลิ่ง ปิกนิก
  3. ขอขมา : (V) ; apologize ; Related:ask pardon, ask for forgiveness ; Syn:ขอโทษ, ขออภัย ; Def:แสดงการยอมรับผิดในความผิดที่ได้กระทำการล่วงเกินอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเป็นผู้ใหญ่กว่า ; Samp:นักเรียนที่ประพฤติตัวไม่ดีต้องมาขอขมาครู
  4. สมา : (V) ; apologize ; Syn:ขมา, ขอโทษ, ษมา ; Def:กล่าวคำขอโทษ ; Samp:อดีตเจ้าอาวาสเป็นผู้นำสวดขอสมาต่อหน้าศพหลวงปู่
  5. เขม่า : (N) ; soot ; Related:lampblack, carbon ; Syn:เขม่าควัน, คราบเขม่า ; Def:ละอองดำๆ ที่เกิดจากควันไฟหรือดินปืน ; Samp:ปล่องไฟแทบทุกบ้านจะมีเขม่าจับจนดำ
  6. กระเหม่า : (N) ; lampblack ; Related:soot ; Syn:เขม่า ; Def:ละอองดำๆ ที่เกิดจากควันไฟ ; Samp:ตำรวจจับรถที่มีกระเหม่าควันดำ
  7. ข่อ : (N) ; ash ; Related:soot, lampblack ; Syn:เถ้า, เขม่า
  8. ขอโทษ : (V) ; apologize ; Related:make an apology, beg your pardon, excuse, pardon, ask for forgiveness ; Syn:ขอขมา, ขออภัย, ขอประทานโทษ, ขอโทษขอโพย ; Def:ขอให้ยกเว้นโทษ, ใช้เป็นคำสุภาพเมื่อรู้สึกว่าจะเป็นการล่วงเกินหรือต่ำสูงต่อผู้อื่น ; Samp:ดิฉันต้องขอโทษคุณที่ไม่ได้บอกล่วงหน้าว่าจะมา
  9. ขี้เขม่า : (N) ; soot ; Related:lampblack ; Syn:เขม่า ; Def:ละอองดำๆ ที่เกิดจากควันไฟหรือดินปืนที่เป็นผลมาจากการเผาไหม้ ; Samp:ท่อไอเสียมีขี้เขม่าเกาะเต็มไปหมด
  10. มสิ : (N) ; soot ; Syn:เขม่า
  11. มินหม้อ : (N) ; soot ; Related:lampblack ; Syn:เขม่าดำ, เขม่า ; Def:เขม่าดำที่ติดก้นหม้อ ; Samp:เขาดำราวกับมินหม้อ
  12. มินหม้อ : (N) ; soot ; Related:lampblack ; Syn:เขม่าดำ, เขม่า ; Def:เขม่าดำที่ติดก้นหม้อ ; Samp:เขาดำราวกับมินหม้อ
  13. สมปรารถนา : (V) ; fulfil one's wish ; Related:have one's wish fulfilled ; Syn:สมประสงค์ ; Def:ได้ตามที่ต้องการ ; Samp:ตอนนี้คุณก็สมปรารถนาแล้ว ขอให้มีความสุขมากๆ

Royal Institute Thai-Thai Dict : ขี่ม้า, more than 5 found, display 1-5
  1. ขมา : [ขะมา] ก. กล่าวคําขอโทษ เช่น ไปขมาศพ. น. การยกโทษให้ เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งยอมรับผิด เช่น ขอขมา, ษมา ก็ใช้. (ป.; ส. กฺษมา).
  2. ทรง : [ซง] น. รูปร่าง เช่น ทรงกระบอก ทรงปั้นหยา ทรงกระสอบ ทรงกระทาย (ลักษณะชามหรือถ้วยมีรูปคล้ายกระทาย), แบบ เช่น ทรงผม. ก. ตั้งอยู่ได้ เช่น ทรงตัว; จํา เช่น ทรงพระไตรปิฎก; รองรับ เช่น ธรรมย่อมทรงผู้ประพฤติธรรมไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว; มี เช่น ทรงคุณวุฒิ; คงอยู่ เช่น ไข้ยังทรงอยู่ นํ้าทรง; ในราชาศัพท์ มีความหมายว่า ขี่ หรือ ถือ เป็นต้น ตามเนื้อความของคําที่ตาม หลัง เช่น ทรงม้า ว่า ขี่ม้า ทรงช้าง ว่า ขี่ช้าง ทรงศร ว่า ถือศร ทรงศีล ว่า รับศีล ทรงธรรม ว่า ฟังเทศน์ ทรงบาตร ว่า ตักบาตร ทรงราชย์ ว่า ครองราชสมบัติ; ถ้าประกอบหน้านามบางคํา เช่น ชัย ภพ ศรี ศักดิ์ ธรรม เป็น พระทรงชัย พระทรงภพ พระทรงศรี พระทรงศักดิ์ พระทรงธรรม หมายถึง กษัตริย์; ถ้าประกอบหน้า นามที่เป็นพาหนะหรืออาวุธเป็นต้นของพระเป็นเจ้า หมายถึง พระเป็นเจ้านั้น ๆ เช่น พระทรงโค หมายถึง พระอิศวร พระทรง ครุฑ พระทรงศร พระทรงสังข์ หมายถึง พระนารายณ์ พระทรงหงส์ หมายถึง พระพรหม; ใช้นําหน้าคํากริยาสามัญให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงทราบ ทรงยินดี ทรงขอบใจ; ใช้นําหน้าคํานามราชาศัพท์ ให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระสรวล ทรงพระเมตตา ทรงพระ ประชวร, ในลักษณะนี้จะหมายความว่า มี ก็ได้ เช่น ทรงพระปรีชา สามารถ ทรงพระคุณ ทรงพระนาม, เมื่อกริยาเป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่นิยมใช้คําว่า ทรง นําหน้าซ้อนลงไปอีก เช่นไม่ใช้ว่า ทรงตรัส ทรงประทับ ทรงพระราชทาน. (ราชา) ว. เรียกช้าง ม้า ที่ขึ้นระวาง แล้วว่า ช้างทรง ม้าทรง.
  3. ลัดเลาะ : ก. อาการที่เลียบทางไป เช่น เดินลัดเลาะไปตามตลิ่ง ขี่ม้า ลัดเลาะไปตามชายป่า, หลบเลี่ยงเพื่อไม่ต้องเผชิญกับสิ่งกีดขวาง หรืออันตราย เช่น เดินทางลัดเลาะหลบข้าศึก, เลาะลัด ก็ว่า.
  4. เลาะลัด : ก. อาการที่เลียบทางไป เช่น เดินเลาะลัดไปตามตลิ่ง ขี่ม้า เลาะลัดไปตามชายป่า, หลบเลี่ยงเพื่อไม่ต้องเผชิญกับสิ่งกีดขวาง หรืออันตราย เช่น เดินทางเลาะลัดหลบข้าศึก, ลัดเลาะ ก็ว่า.
  5. ตบหัวกลางศาลา ขอขมาที่บ้าน : (สํา) ก. ยอมรับผิดไม่สมกับความผิดที่ ทําไว้, ใช้เพี้ยนว่า ตบหัวที่ศาลา ขอขมาที่บ้าน ก็มี.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ขี่ม้า, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ขี่ม้า, more than 5 found, display 1-5
  1. ขมา : ความอดโทษ, การยกโทษให้
  2. สิกขมานา : นางผู้กำลังศึกษา, สามเณรีผู้มีอายุถึง ๑๘ ปีแล้ว อีก ๒ ปีจะครบบวชเป็นภิกษุณี ภิกษุณีสงฆ์สวดให้สิกขาสมมติ คือ ตกลงให้สมาทานสิกขาบท ๖ ประการ ตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี จนถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ให้รักษาอย่างเคร่งครัดไม่ขาดเลย ตลอดเวลา ๒ ปีเต็ม (ถ้าล่วงข้อใดข้อหนึ่ง ต้องสมาทานตั้งแต่ต้นไปใหม่อีก ๒ ปี) ครบ ๒ ปี ภิกษุณีสงฆ์จึงทำพิธีอุปสมบทให้ ขณะที่สมาทานสิกขาบท ๖ ประการอย่างเคร่งครัดนี้ เรียกว่า นางสิกขมานา
  3. เวสาขมาส : เดือน ๖
  4. ครุธรรม : ธรรมอันหนัก, หลักความประพฤติสำหรับนางภิกษุณีจะพึงถือเป็นเรื่องสำคัญอันต้องปฏิบัติด้วยความเคารพไม่ละเมิดตลอดชีวิต มี ๘ ประการ คือ ๑.ภิกษุณีแม้บวชร้อยพรรษาแล้ว ก็ต้องกราบไหว้ภิกษุแม้บวชวันเดียว ๒.ภิกษุณีจะอยู่ในวัดที่ไม่มีภิกษุไม่ได้ ๓.ภิกษุณีต้องไปถามวันอุโบสถและเข้าไปฟังโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน ๔.ภิกษุณีอยู่จำพรรษาแล้วต้องปวารณาในสงฆ์ ๒ ฝ่ายโดยสถานทั้ง ๓ คือ โดยได้เห็น โดยได้ยิน โดยรังเกียจ (รังเกียจหมายถึง ระแวงสงสัยหรือประพฤติกรรมอะไรที่น่าเคลือบแคลง) ๕.ภิกษุณีต้องอาบัติหนัก ต้องประพฤติมานัตในสงฆ์ ๒ ฝ่าย (คือ ทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์) ๑๕ วัน ๖.ภิกษุณีต้องแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆ์ ๒ ฝ่าย เพื่อนางสิกขมานา ๗.ภิกษุณีไม่พึงด่าไม่พึงบริภาษภิกษุไม่ว่าจะโดยปริยายใดๆ ๘.ไม่ให้ภิกษุณีว่ากล่าวภิกษุแต่ภิกษุว่ากล่าวภิกษุณีได้
  5. จิตตคฤหบดี : ชื่ออุบาสกคนหนึ่ง มีศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนา ได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะในบรรดาอุบาสกธรรมกถิก; ท่านผู้นี้เคยถูกภิกษุชื่อสุธรรมด่า เป็นเหตุให้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติปฏิสาราณียกรรมคือการลงโทษภิกษุผู้ด่าว่าคฤหัสถ์ที่ไม่มีความผิด ด้วยการให้ไปขอขมาเขา
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ขี่ม้า, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขี่ม้า, more than 5 found, display 1-5
  1. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  2. ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
  3. ขมากร : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์.
  4. ขมาเปติ : ก. บอกให้ยกโทษให้, ขอโทษ, ขออภัย
  5. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ขี่ม้า, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ขี่ม้า, 3 found, display 1-3
  1. เดือนพฤษภาคม : วิสาขมาโส, เวสาขมาโส
  2. พฤษภาคม : วิสาขมาโส, เวสาขมาโส
  3. พิจารณา : วิจินนฺโต, วีมํสนฺโต, สมเวกฺขมาโน, ปจฺจเวกฺขนฺโต

(0.1201 sec)