Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขี้แย , then ขย, ขี้แย .

Eng-Thai Lexitron Dict : ขี้แย, 5 found, display 1-5
  1. lachrymose : (ADJ) ; ขี้แย ; Related:โยเย, เจ้าน้ำตา ; Syn:dolourous, tearful, weeping
  2. crybaby : (N) ; คนขี้แย
  3. poke 1 : (VT) ; เขี่ย (ถ่าน, ไฟ) ให้คุ
  4. rake 1 : (VT) ; คุ้ย ; Related:เขี่ย, ขูด ; Syn:scrape
  5. scrabble about : (PHRV) ; คุ้ย ; Related:เขี่ย, ตะกุย, คลำหา

Thai-Eng Lexitron Dict : ขี้แย, 8 found, display 1-8
  1. ขี้แย : (ADJ) ; whining ; Related:tearful, weepy ; Def:มักร้องไห้บ่อยๆ เพราะอ่อนแอไม่เข้มแข็ง ; Samp:เขาชอบว่าฉันเป็นผู้หญิงขี้แยอยู่เรื่อย
  2. ขี้แง : (V) ; be a crybaby ; Related:be/feel weepy, be easy to move tears, whine ; Syn:ขี้แย ; Def:ร้องไห้ง่ายและร้องไห้บ่อย ; Samp:เขายังดูอ่อนแอแบบบาง แต่เขาไม่ขี้แงเหมือนเจ้าว่าหรอก
  3. ขี้แง : (ADJ) ; weepy ; Related:whiny ; Syn:ขี้แย, ใจน้อย ; Def:ร้องไห้ง่ายและร้องไห้บ่อย ; Samp:พี่น่ะดีแต่มานั่งพร่ำรำพันเป็นเด็กขี้แงอยู่อย่างงี้แหละ
  4. งอแง : (V) ; be petulant ; Related:be peevish, be irritable, be tempered ; Syn:ขี้แย, ขี้อ้อน, โยเย ; Samp:น้องเล็กก็งอแงไปตามประสาเด็กๆ นั่นแหล่ะ อย่าตามใจมากนักเดี๋ยวจะเสียเด็ก
  5. เขี่ย : (V) ; stir ; Related:scratch ; Syn:สะกิด, ปัด ; Def:ค่อยๆ ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเคลื่อนที่หลุดออกไป ; Samp:พ่อใช้นิ้วเขี่ยผงที่ลูกตาลูกสาวเบาๆ
  6. เขี่ย : (V) ; remove ; Related:throw away, discard ; Syn:กำจัด, ไล่ ; Ant:เก็บ ; Def:ขับไล่ออกไปให้พ้น ; Samp:นายมนตรีถูกเขี่ยออกจากพรรคร่วมรัฐบาล
  7. คุ้ยเขี่ย : (V) ; dig ; Related:scratch, delve, scrape, rake, scrabble, shave ; Syn:คุ้ย, เขี่ย ; Ant:ถม, กลบ, ฝัง ; Samp:พวกไก่ป่าคุ้ยเขี่ยหาอาหารกินวนเวียนอยู่ใกล้ๆ เรา
  8. บ่ง : (V) ; prick ; Related:pick off ; Syn:เขี่ย, สะกิด ; Def:ใช้ของแหลมๆ แทงที่เนื้อเพื่อเอาหนามเป็นต้นที่ฝังอยู่ในเนื้อหรือหนองออก ; Samp:แม่ใช้เข็มบ่งหนามออกจากเท้าจนน้องร้องเสียงดัง

Royal Institute Thai-Thai Dict : ขี้แย, 10 found, display 1-10
  1. ขี้แย : ว. มักร้องไห้บ่อย ๆ, ใจน้อย.
  2. ขย- : [ขะยะ-] (แบบ) น. ความสิ้นไป, ความเสื่อมไป, โดยมากใช้ในสมาส เช่น ขยธรรม อาสวักขยญาณ, ถ้าใช้โดด ๆ หรือเป็นคําท้ายสมาส เป็น ขัย เช่น อายุขัย. (ป.).
  3. งอแง : ว. ขี้แย, ขี้อ้อน, (ใช้แก่เด็ก); (ปาก) รวนเร, บิดพลิ้ว; เอาใจยาก.
  4. เขี่ย : ก. ใช้ไม้หรือสิ่งอื่น ๆ ทําให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเคลื่อนที่ไป เช่น เขี่ยฟุตบอล เขี่ยสวะ; ค่อย ๆ สะกิดออก เช่น เขี่ยผงที่ลูกตา เอาก้านพลูเขี่ยตา; สะกิด เช่น เอานิ้วเขี่ยหลัง; คุ้ยเขี่ยให้ไฟกลับลุกขึ้นอีก เช่น เขี่ยขี้ไต้ เขี่ยขี้เถ้า, เอานิ้วเคาะหรือดีดบุหรี่หรือเอาบุหรี่เคาะที่สิ่งอื่นเพื่อให้ขี้บุหรี่ร่วง เรียกว่า เขี่ยบุหรี่; ขีดไปขีดมาหรือปัดไปปัดมาเพื่อให้กระจายออก เช่น เขี่ยดินเพื่อหาของที่ตกอยู่ในดิน ไก่เขี่ยดินหาอาหาร; (ปาก) เขียนหรือ วาดอย่างหวัด ๆ เช่น ช่วยเขี่ย ๆ ประวัติเรื่องนี้ให้หน่อยเถอะ ลายมือ เป็นไก่เขี่ย; ปัดไปให้พ้น เช่น ถูกเขี่ยออกไป.
  5. กรรมขัย : [กำมะไข] (โบ) น. การสิ้นอายุเพราะกรรม เช่น อันว่า อายุสม์ยังมิควรตายแลมาตายดั่งนั้นชื่อว่ากรรมขัยแล. (ไตรภูมิ). (ส. กรฺม + ป. ขย).
  6. ขษัย : [ขะสัย] (โบ) น. กษัย, การสิ้นไป, การหมดไป, การเสื่อมไป, การน้อยไป. (ส. กฺษย; ป. ขย).
  7. ขยี้ : [ขะยี่] ก. ใช้มือ เท้า หรือเล็บเป็นต้นบี้ซํ้า ๆ ให้แหลกละเอียด เช่น ขยี้พิมเสน, ขยี้ดิน, เอาวัตถุเช่นผ้าถูกับเนื้อของมันเองในการซักฟอก, เอาวัตถุเช่นกระดาษถูกับเนื้อของมันเองเพื่อให้นิ่ม, เอามือกดถูไปมา เช่น ขยี้ตา ขยี้ผม, โดยปริยายหมายความว่า ทําลายให้แหลกละเอียด เช่น ขยี้ข้าศึก.
  8. ขัย : [ไข] น. ความสิ้นไป, เขตอายุของคนที่นิยมกันว่าสูงสุด เรียกว่า อายุขัย. (ป. ขย; ส. กฺษย).
  9. วิชชา : [วิด] น. ความรู้แจ้ง เช่น วิชชา ๓ วิชชา ๘ ในพระพุทธศาสนา, วิชชา ๓ คือ ๑. บุพเพนิวาสานุสติญาณ (รู้จักระลึกชาติได้) ๒.จุตูปปาตญาณ(รู้จักกําหนดจุติและเกิด) ๓. อาสวักขยญาณ (รู้จักทํา อาสวะให้สิ้น), ส่วนวิชชา ๘ คือ ๑. วิปัสสนาญาณ (ญาณอันนับเข้า ในวิปัสสนา) ๒. มโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) ๓. อิทธิวิธิ (แสดงฤทธิ์ได้) ๔. ทิพโสต (หูทิพย์) ๕. เจโตปริยญาณ (รู้จักกําหนดใจผู้อื่น) ๖. บุพเพนิวาสานุสติญาณ ๗. ทิพจักขุ (ตาทิพย์) ๘. อาสวักขยญาณ. (ป. วิชฺชา; ส. วิทฺยา).
  10. อภิญญา, อภิญญาณ : [อะพินยา, อะพินยาน] น. ''ความรู้ยิ่ง'' ในพระพุทธศาสนามี ๖ อย่าง คือ ๑. อิทธิวิธิ การแสดงฤทธิ์ได้ ๒. ทิพโสต หูทิพย์ ๓. เจโตปริยญาณ ญาณรู้จักกําหนดใจผู้อื่น ๔. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ การระลึกชาติได้ ๕. ทิพจักขุ ตาทิพย์ ๖. อาสวักขยญาณ ญาณรู้จักทําอาสวะให้สิ้นไป. (ป.; ส. อภิชฺ?า, อภิชฺ?าน).

Budhism Thai-Thai Dict : ขี้แย, 4 found, display 1-4
  1. อาสวักขยญาณ : ความรู้เป็นเหตุสิ้นอาสวะ, ญาณหยั่งรู้ในธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย, ความตรัสรู้ (เป็นความรู้ที่พระพุทธเจ้าได้ในยามสุดท้ายแห่งราตรี วันตรัสรู้) (ข้อ ๓ ในวิชชา ๓, ข้อ ๖ ในอภิญญา ๖, ข้อ ๘ ในวิชชา ๘, ข้อ ๑๐ ในทศพลญาณ)
  2. ทสพลญาณ : พระญาณเป็นกำลังของพระพุทธเจ้า ๑๐ ประการ เรียกตามบาลีว่า ตถาคตพลญาณ (ญาณเป็นกำลังของพระตถาคต) ๑๐ คือ ๑.ฐานาฐานญาณ ๒.กรรมวิปากญาณ ๓.สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ ๔.นานาธาตุญาณ ๕.นานาธิมุตติกญาณ ๖.อินทริยปโรปริยัตตญาณ ๗.ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ ๙.จุตูปปาตญาณ ๑๐.อาสวักขยญาณ; นิยมเขียน ทศพลญาณ; ดู ญาณ ชื่อนั้นๆ
  3. วิชชา : ความรู้แจ้ง, ความรู้วิเศษ; วิชชา ๓ คือ ๑.ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ความรู้ที่ได้ระลึกชาติได้ ๒.จุตูปปาตญาณ ความรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ๓.อาสวักขยญาณ ความรู้ที่ทำอาสวะให้สิ้น; วิชชา ๘ คือ ๑.วิปัสสนาญาณ ญาณในวิปัสสนา ๒.มโนมยิทธิ ฤทธิ์ทางใจ ๓.อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ได้ต่างๆ ๔.ทิพพโสต หูทิพย์ ๕.เจโตปริยญาณ รู้จักกำหนดใจผู้อื่นได้ ๖.ปุพเพนิวาสานุสติ ๗.ทิพพจักขุ ตาทิพย์ (=จุตูปปาตญาณ) ๘.อาสวักขยญาณ
  4. อภิญญา : ความรู้ยิ่ง, ความรู้เจาะตรงยวดยิ่ง, ความรู้ชั้นสูง มี ๖ อย่างคือ ๑) อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้ ๒) ทิพพโสต หูทิพย์ ๓) เจโตปริยญาณ ญาณที่ให้ทายใจคนอื่นได้ ๔) ปุพเพนิวาสานุสติ ญาณที่ทำให้ระลึกชาติได้ ๕) ทิพพจักขุ ตาทิพย์ ๖) อาสวักขยญาณ ญาณที่ทำให้อาสวะสิ้นไป, ๕ อย่างแรกเป็นโลกียอภิญญา ข้อสุดท้ายเป็นโลกุตตรอภิญญา

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขี้แย, more than 5 found, display 1-5
  1. ขย : (ปุ.) ที่, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, เรือน, แผ่นดิน, กษิติ กษีดิ (แผ่นดิน). ขี ขเย, นิวาเส วา, อ.
  2. ขย ขยน : (นปุ.) ที่อยู่, ฯลฯ. ขี นิวาเส, อ, ยุ.
  3. โคสขย, โคสงฺขย : ป. ดู โคป
  4. ชาติกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งการเกิด, ความสิ้นชาติ
  5. ปริกฺขย : ป. ความเสื่อมสูญ, ความสิ้น
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ขี้แย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ขี้แย, not found

(0.1181 sec)