Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คร้าน , then คราน, คร้าน .

Eng-Thai Lexitron Dict : คร้าน, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : คร้าน, 5 found, display 1-5
  1. คร้าน : (V) ; be lazy ; Related:be indolent, be slothful ; Syn:ขี้เกียจ, เกียจคร้าน ; Samp:กว่าผมจะกลับเข้าบ้านก็มืดค่ำคร้านจะอาบน้ำ
  2. ขี้คร้าน 1 : (V) ; be lazy ; Related:be indolent, be slothful ; Syn:ขี้เกียจ, เกียจคร้าน, ขี้เกียจขี้คร้าน, คร้าน ; Def:มีความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใดๆ ; Samp:ช่วงนี้ผมรู้สึกว่าผมขี้คร้านที่จะพูดกับเขา
  3. ขี้คร้าน 2 : (ADV) ; surely ; Related:definitely ; Syn:แน่นอน ; Samp:เธอลองทำดีกับเขาหน่อยซิ ขี้คร้านเขาจะตามใจเธอ
  4. เกียจคร้าน : (ADJ) ; lazy ; Related:idle, inactive, indolent ; Syn:ขี้เกียจ, ขี้คร้าน, คร้าน ; Ant:ขยัน, ขยันขันแข็ง ; Def:ความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใดๆ ; Samp:คนที่มีเวลาว่างมากแล้วก็ไม่รู้จะทำอะไร เป็นคนเกียจคร้านบ้าง เป็นคนที่ไม่ฉลาดบ้าง ถึงต้องจัดให้เวลาว่างนี้เป็นประโยชน์
  5. เกียจคร้าน : (V) ; be lazy ; Related:be indolent, be idle, be slothful, be inert, be inactive ; Syn:ขี้เกียจ, ขี้คร้าน, คร้าน ; Ant:ขยัน, ขยันขันแข็ง ; Def:ความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใดๆ ; Samp:คนบางพวกเกียจคร้านที่จะประกอบสัมมาอาชีพ คอยจ้องแต่จะลักขโมย เบียดเบียนคนอื่น

Royal Institute Thai-Thai Dict : คร้าน, 8 found, display 1-8
  1. คร้าน : [คฺร้าน] ว. มีความรู้สึกไม่อยากจะทําหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใด ๆ, ตามปรกติเมื่อใช้พูดมักมีคํา ขี้ ประกอบหน้า เช่น ขี้คร้าน และมักใช้เข้าคู่ กับคํา เกียจ เป็น เกียจคร้าน ขี้เกียจขี้คร้าน หมายความว่า ไม่อยากทํางาน.
  2. กำเนียจ : [กำเหฺนียด] ว. เกียจ, คด, ไม่ซื่อ, โกง; คร้าน; (โบ) เขียนเป็น กำนยจ ก็มี เช่น อนนว่าพระโพธิสัตว์ก็ใส่กลกล่าว กํานยจกยจแก่นางพญาด่งงนี้. (ม. คําหลวง กุมาร).
  3. ขี้คร้าน : ก. เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น เช่น พอยอเข้าหน่อยขี้คร้านจะทำให้ทุกอย่าง.
  4. เกียจ : [เกียด] ก. คด, ไม่ซื่อ, โกง, คร้าน.
  5. ถีน : [ถีนะ] (แบบ) น. ความง่วงเหงา, ความคร้านกาย. (ป.).
  6. ใฝ่ฝัน : ก. คิดอยากได้, มุ่งหวัง, เช่น ใฝ่ฝันอยากไปเมืองนอก. ใฝ่ร้อนจะนอนเย็น ใฝ่เย็นจะดิ้นตาย (สํา) ก. มุ่งหวังจะสบายต้อง ทํางาน ถ้าเกียจคร้านจะลําบากยากจน.
  7. อบายมุข : [อะบายยะมุก] น. ทางแห่งความฉิบหาย, เหตุแห่งความ ฉิบหาย, มี ๒ หมวด คือ อบายมุข ๔ ได้แก่ ๑. เป็นนักเลงหญิง ๒. เป็นนักเลงสุรา ๓. เป็นนักเลงเล่นการพนัน ๔. คบคนชั่วเป็นมิตร กับ อบายมุข ๖ ได้แก่ ๑. ดื่มนํ้าเมา ๒. เที่ยวกลางคืน ๓. เที่ยวดูการเล่น ๔. เล่นการพนัน ๕. คบคนชั่วเป็นมิตร ๖. เกียจคร้านทําการงาน. (ป.).
  8. คราญ : [คฺราน] ว. งาม, สวย, น่ารัก, ใช้ประสมกับคําอื่น เช่น นงคราญ สะคราญ.

Budhism Thai-Thai Dict : คร้าน, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : คร้าน, 5 found, display 1-5
  1. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  2. ตกฺโกล : (นปุ.) กฤญณา, สะคร้าน. ตคิ คติยํ, อโร.
  3. ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
  4. ถิน : (วิ.) หย่อน, ย่อหย่อน, เบา, หลวม, เหลว (ไม่ได้เรื่อง), คร้านจิต (จิตท้อถอยไม่ อยากทำอะไร). สถฺ เสถิลฺเล, อิโน, ลบ ต้นธาตุ.
  5. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คร้าน, not found

(0.1326 sec)