Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความต่าง, ต่าง, ความ , then ความ, ความตาง, ความต่าง, ตาง, ต่าง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ความต่าง, more than 7 found, display 1-7
  1. gap : (N) ; ความแตกต่าง ; Related:ความไม่เข้าใจกัน, ปัญหาที่เกิดจากความแตกต่างกัน ; Syn:contrast, disagreement ; Ant:accord
  2. contrast : (N) ; ความแตกต่าง ; Related:ความตรงกันข้าม ; Syn:divergence, distinction, incompatibility
  3. divergence : (N) ; ความแตกต่าง ; Related:ความไม่เหมือนกัน, ความไม่สอดคล้องกัน, ความหลากหลาย ; Syn:difference, divergency ; Ant:accord, correspondence, resemblance
  4. variousness : (N) ; ความแตกต่างกัน ; Related:ความหลากหลาย
  5. division : (N) ; ความแตกต่าง ; Related:การแตกแยก, ความไม่ลงรอยกัน ; Syn:separation
  6. contradiction : (N) ; ความแตกต่าง ; Syn:difference
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ความต่าง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ความต่าง, more than 7 found, display 1-7
  1. ความต่าง : (N) ; difference ; Related:dissimilarity, unlikeness ; Syn:ความแตกต่าง ; Ant:ความเหมือน ; Samp:ความต่างของสินค้าอยู่ที่คุณภาพ
  2. ความแตกต่าง : (N) ; difference ; Related:dissimilarity, disparity, contrast, diversity ; Syn:ความต่าง, ความตรงข้ามกัน ; Ant:ความเหมือน ; Samp:สัดส่วนจำนวนสถาบันอุดมศึกษาต่อจำนวนจังหวัดในแต่ละภูมิภาคมีความแตกต่างจากสัดส่วนในกรุงเทพมหานครอย่างชัดเจน
  3. ความต่างกัน : (N) ; difference ; Related:diversity, dissimilarity, unlikeliness, disagreement ; Syn:ความแตกต่าง, ความต่าง ; Ant:ความเหมือน
  4. ความเหมือน : (N) ; similarity ; Related:analogy, resemblance, likeness, similitude ; Ant:ความต่าง ; Samp:การเปรียบเทียบให้เห็นถึงความเหมือนและความต่างของนิกายนั้นจะทำให้คนเข้าใจแต่ละนิกายมากขึ้น
  5. ความคล้าย : (N) ; resemblance ; Related:likeness, similarity, semblance ; Syn:ความคล้ายคลึง ; Ant:ความต่าง ; Samp:ฝาแฝดมักมีความคล้ายกันในส่วนของรูปร่างหน้าตา
  6. ความ : (N) ; content ; Related:information ; Syn:เนื้อความ, เรื่อง ; Samp:ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก
  7. ความ : (N) ; case ; Related:lawsuit ; Syn:ข้อคดี ; Def:คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล ; Samp:คดีที่เป็นตัวอย่างการพิจารณาความอาญาเก็บไว้ในห้องสมุด
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ความต่าง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความต่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. ความ : [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
  2. เวมัต : น. ความต่าง, ความแปลกไป. (ป. เวมตฺต).
  3. ความรู้สึกช้า : น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้ช้า เช่น เขาเป็นคนมีความรู้สึกช้า ต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าใจ.
  4. ความรู้สึกไว : น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว เช่น ผู้ที่ศึกษาวรรณคดี ควรจะมีความรู้สึกไวจึงจะรับรสวรรณคดีได้.
  5. ค่ายอาสาพัฒนา : น. ค่ายเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีความมุ่งหมายเพื่อ ส่งเสริมหรือฝึกฝนให้เยาวชนได้ร่วมมือร่วมใจกันบําเพ็ญประโยชน์ ต่าง ๆ ให้แก่ชุมชน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ความต่าง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ความต่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. กัตตุกัมยตาฉันทะ : ความพอใจคือความเป็นผู้ใคร่เพื่อจะทำ, ความต้องการที่จะทำ ได้แก่ ฉันทะที่เป็นกลางๆ ดีก็ได้ ชั่วก็ได้ ต่างจากกามฉันทะที่เป็นแต่ฝ่ายชั่ว
  2. จริต : ความประพฤติ, พื้นนิสัย หรือพื้นเพแห่งจิตของคนทั้งหลายที่หนักไปด้านใดด้านหนึ่ง แตกต่างกันไปคือ ๑.ราคจริต ผู้มีจาคะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางรักสวยรักงาม มักติดใจ) ๒.โทสจริต ผู้มีโทสะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางใจร้อนขี้หงุดหงิด) ๓.โมหจริต ผู้มีโมหะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางเหงาซึม งมงาย) ๔.สัทธาจริต ผู้มีศรัทธาเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางน้อมใจเชื่อ) ๕.พุทธิจริต ผู้มีความรู้เป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางคิดพิจารณา) ๖.วิตกจริต ผู้มีวิตกเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางคิดจับจดฟุ้งซ่าน)
  3. ปุคคลัญญุตา : ความเป็นผู้รู้จักบุคคล คือ รู้ความแตกต่างแห่งบุคคล ว่าโดยอัธยาศัย ความสามารถ และคุณธรรม เป็นต้น เป็นอย่างไร ควรคบควรใช้ควรสอนอย่างไร (ข้อ ๗ ในสัปปุริสธรรม ๗)
  4. สังฆราชี : ความร้าวรานแห่งสงฆ์ คือ จะแตกแยกกัน แต่ยังไม่ถึงกับแยกทำอุโบสถปวารณาและสังฆกรรมต่างหากกัน เทียบ สังฆเภท
  5. สัญญา ๑๐ : ความกำหนดหมาย, สิ่งที่ความกำหนดหมายไว้ในใจ มี ๑๐ อย่าง คือ ๑.อนิจจสัญญา กำหนดหมายความไม่เที่ยงแห่งสังขาร ๒.อนัตตสัญญา กำหนดหมายความเป็นอนัตตาแห่งธรรมทั้งปวง ๓.อสุภสัญญา กำหนดหมายความไม่งามแห่งกาย ๔.อาทีนวสัญญา กำหนดหมายโทษแห่งกาย คือมีอาพาธต่าง ๆ ๕.ปหานสัญญา กำหนดหมายเพื่อละอกุศลวิตกและบาปธรรม ๖.วิราคสัญญา กำหนดหมายวิราคะ คืออริยมรรคว่าเป็นธรรมอันสงบประณีต ๗.นิโรธสัญญา กำหนดหมายนิโรธ คืออริยผล ว่าเป็นธรรมอันสงบประณีต ๘.สัพพโลเก อนภิรตสัญญา กำหนดหมายความไม่น่าเพลิดเพลินในโลกทั้งปวง ๙.สัพพสังขาเรสุ อนิฏฐสัญญา กำหนดหมายความไม่น่าปรารถนาใน สังขารทั้งปวง ๑๐.อานาปานัสสติ สติกำหนดลมหายใจเข้าออก
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ความต่าง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความต่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. นานตฺตา : (อิต.) ความต่าง, ความต่างกัน.
  2. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  3. กมฺมวิเสส : ป. ความวิเศษแห่งกรรม, ความแตกต่างแห่งกรรม
  4. กมฺมโวสฺสคฺค : ป. ความแตกต่างแห่งกรรม, การจำแนกแห่งกรรม
  5. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ความต่าง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความต่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. ความเห็นแตกต่าง : นานาทิฏฺฐิ
  2. ความกระหาย : ปิปาสา, ตสฺสนํ
  3. ความกว้างขวาง : อายติ [อิ.]
  4. ความกำเริบ : กุปฺปนํ [นป.]
  5. ความกำหนัด : กามราโค [ป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความต่าง, more results...

(0.7588 sec)