Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสงสาร, สงสาร, ความ , then ความ, ความสงสาร, สงสาร, สงสาระ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ความสงสาร, more than 7 found, display 1-7
  1. feel sorry for : (IDM) ; สงสาร
  2. Eng-Thai Lexitron Dict : ความสงสาร, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ความสงสาร, more than 7 found, display 1-7
  1. ความสงสาร : (N) ; pity ; Related:sympathy, compassion, commiseration ; Syn:ความเห็นใจ, ความเห็นอกเห็นใจ ; Def:ความรู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, ความรู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา ; Samp:ความสงสารเป็นบ่อเกิดแห่งความรัก
  2. ความเมตตาสงสาร : (N) ; kindness ; Related:mercy, clemency, compassion, leniency, pity ; Syn:ความเมตตา, ความสงสาร, ความกรุณาปรานี ; Samp:หลวงพ่อเป็นพระสงฆ์ที่มีอัธยาศัยไมตรีเปี่ยมไปด้วยความเมตตาสงสารคนทุกคน
  3. ความ : (N) ; content ; Related:information ; Syn:เนื้อความ, เรื่อง ; Samp:ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก
  4. สงสาร : (V) ; pity ; Related:take a pity on, sympathize with, have compassion for ; Ant:สมน้ำหน้า ; Def:รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, รู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา ; Samp:ผมเห็นใจและสงสารบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
  5. ความ : (N) ; case ; Related:lawsuit ; Syn:ข้อคดี ; Def:คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล ; Samp:คดีที่เป็นตัวอย่างการพิจารณาความอาญาเก็บไว้ในห้องสมุด
  6. ความเวทนา : (N) ; pity ; Related:compassion, sympathy, pathos ; Syn:ความสงสาร, ความเห็นใจ ; Ant:ความทารุณ, ความโหดร้าย, ความโหดเหี้ยม ; Samp:ภาพชายชรานั่งขอทานก่อให้เกิดความเวทนาแก่ผู้ที่เดินผ่านไปมา
  7. Thai-Eng Lexitron Dict : ความสงสาร, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความสงสาร, more than 5 found, display 1-5
  1. ความ : [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
  2. สงสาร : [สงสาน] ก. รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, รู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา, เช่น เห็นเด็ก ๆ อดอยากก็รู้สึก สงสาร เห็นเขาประสบอัคคีภัยแล้วสงสาร.
  3. สงสาร ๑, สงสาร : [สงสาน, สงสาระ] น. การเวียนว่ายตายเกิด, การเวียนตายเวียนเกิด; โลก. (ป., ส. สํสาร).
  4. ภาษาธรรม : น. ภาษาที่ใช้มีความหมายในทางธรรม ต่างกับความหมาย ที่ชาวบ้านใช้ เช่น คำว่า เวทนา ในภาษาธรรมหมายถึง การเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง สงสารสลดใจ หรือคำว่า สงสาร ในภาษาธรรมหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ชาว บ้านใช้หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น.
  5. ความคิด : น. สิ่งที่นึกรู้ขึ้นในใจ; ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหา ความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์; สติ ปัญญาที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถูกต้องและสมควร เช่น คนทำลาย ของสาธารณะเป็นพวกไม่มีความคิด.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ความสงสาร, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ความสงสาร, more than 5 found, display 1-5
  1. สงสาร : ๑. การเวียนว่ายตายเกิด, การเวียนตายเวียนเกิด ๒.ในภาษาไทยมักหมายถึงรู้สึกในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น (= กรุณา)
  2. กรุณา : ความสงสารคิดจะช่วยให้พ้นทุกข์, ความหวั่นใจ เมื่อเห็นผู้อื่นมีทุกข์ คิดหาทางช่วยเหลือปลดเปลื้องทุกข์ของเขา ดู พรหมวิหาร -compassion, pity.
  3. เวทนา : ความเสวยอารมณ์, ความรู้สึก, ความรู้สึกสุขทุกข์ มี ๓ อย่าง คือ ๑.สุขเวทนา ความรู้สึกสุขสบาย ๒.ทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่สบาย ๓.อทุกขมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุข ไม่ทุกข์ คือ เฉยๆ เรียกอีกอย่างว่า อุเบกขาเวทนา; อีกหมวดหนึ่งจัดเป็น เวทนา ๕ คือ ๑.สุข สบายกาย ๒.ทุกข์ ไม่สบายกาย ๓.โสมนัส สบายใจ ๔.โทมนัส ไม่สบายใจ ๕.อุเบกขา เฉยๆ; ในภาษาไทย ใช้หมายความว่าเจ็บปวดบ้าง สงสารบ้าง ก็มี
  4. ความค้ำ : ในประโยคว่า เราจักไม่ทำความค้ำ ไปในละแวกบ้าน เดินเอามือค้ำบั้นเอว นั่งเท้าแขน
  5. ความปรารถนา : ของบุคคลในโลกที่ได้สมหมายด้วยยาก ๔ อย่าง ดู ทุลลภธรรม
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ความสงสาร, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสงสาร, more than 5 found, display 1-5
  1. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  2. อนุกมฺปน : นป. อนุกมฺปา อิต. ความเอ็นดู, ความเมตตา, ความสงสาร
  3. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  4. อนาถ : (วิ.) ผู้ไม่มีที่พึ่ง, ผู้หาที่พึ่งไม่ได้, ผู้ไร้ที่พึ่ง, ผู้ไม่มีอิสระ.ไทย อนาถ (อะหนาด)ใช้ในความหมายว่า สงสาร สังเวช สลดใจ.อนาถาใช้ในความหมายว่ากำพร้ายากจนเข็ญใจ.ส.อนาถ.
  5. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสงสาร, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความสงสาร, more than 5 found, display 1-5
  1. ความกระหาย : ปิปาสา, ตสฺสนํ
  2. ความกว้างขวาง : อายติ [อิ.]
  3. ความกำเริบ : กุปฺปนํ [นป.]
  4. ความกำหนัด : กามราโค [ป.]
  5. ความเกรงกลัวต่อบาป : โอตฺตปฺปํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความสงสาร, more results...

(0.7471 sec)