Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความอ่อน, อ่อน, ความ , then ความ, ความออน, ความอ่อน, ออน, อ่อน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ความอ่อน, more than 7 found, display 1-7
  1. mildness : (N) ; ความอ่อน ; Related:ความเบาบาง
  2. limp 2 : (ADJ) ; อ่อน ; Related:นุ่มนิ่ม
  3. milden : (VI) ; อ่อน ; Related:เบาบาง
  4. juniority : (N) ; ความเป็นผู้ที่อ่อนอาวุโสกว่า ; Related:ความเป็นผู้ที่อ่อนวัยกว่า ; Ant:seniority
  5. delicacy : (N) ; ความละเอียดอ่อน ; Related:ความนุ่มนวล, ความแบบบาง ; Syn:debility, frailty, tenderness
  6. exhaustion : (N) ; ความเหนื่อยอ่อน ; Related:ความอ่อนเพลีย, การสิ้นสภาพ, การหมดแรง, การใช้กำลังหมด ; Syn:fatigue, lasstitude, weariness
  7. politeness : (N) ; ความสุภาพอ่อนโยน ; Related:ความเรียบร้อย, ความมีมารยาท, ความนอบน้อม ; Syn:courtesy
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ความอ่อน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ความอ่อน, more than 7 found, display 1-7
  1. อ่อน : (V) ; deform ; Related:be malleable, be pliable ; Def:กดให้เปลี่ยนรูปได้ง่าย ; Samp:เด็กคนนี้ตัวอ่อนเหลือเกิน
  2. อ่อน : (V) ; be young ; Related:be tender ; Def:อายุน้อย ; Samp:ฉันอ่อนกว่าพี่ 2 ปี
  3. อ่อน : (ADJ) ; immature ; Related:unripe, green ; Def:ที่ยังมีอายุไม่มาก ; Samp:มะเขือนี้ถ้าผลอ่อนจะไม่ขม
  4. ความแรง : (N) ; intensity ; Related:intenseness, strength ; Syn:ความเข้ม ; Ant:ความอ่อน ; Samp:เมื่ออยู่ในที่มีแสงสว่างมากเกินควร ควรสวมแว่นตาสีชาหรือสีดำเพื่อลดความแรงของแสง
  5. ความ : (N) ; content ; Related:information ; Syn:เนื้อความ, เรื่อง ; Samp:ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก
  6. ความ : (N) ; case ; Related:lawsuit ; Syn:ข้อคดี ; Def:คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล ; Samp:คดีที่เป็นตัวอย่างการพิจารณาความอาญาเก็บไว้ในห้องสมุด
  7. ความละเอียดอ่อน : (N) ; sensibility ; Related:sensitivity, susceptibilities ; Def:ความอ่อนโยนไม่หยาบหรือไม่แข็งกระด้าง ; Samp:เด็กๆ จะค่อยๆ ซึมซับความละเอียดอ่อนของศิลปะทำให้เกิดอารมณ์อ่อนโยน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ความอ่อน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความอ่อน, more than 5 found, display 1-5
  1. อ่อน : ว. ไม่กระด้าง เช่น ลิ้นอ่อน; นิ่ม เช่น เนื้ออ่อน; ไม่จัด เช่น แดดอ่อน; ไม่แข็ง, ยอมง่าย ๆ, รู้สึกสงสาร, เช่น ใจอ่อน; ไม่แก่ เช่น มะพร้าว อ่อน; หย่อน เช่น อ่อนเค็ม, น้อย เช่น เหลืองอ่อน, ไม่แรง เช่น ไฟอ่อน, อายุยังน้อย เช่น ไก่อ่อน, ยังเล็กอยู่ เช่น เด็กอ่อน; ละมุนละม่อม, ดัดง่าย, เปลี่ยนแปลงง่าย.
  2. ความ : [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
  3. อ่อนความ : ก. ขาดประสบการณ์.
  4. ทศพล : น. ผู้มีกําลัง ๑๐ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า. ทศพิธราชธรรม น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็น หลักธรรมประจําพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน - การให้ ๒. ศีล - การรักษากายวาจา ให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ ๔. อาชชวะ - ความซื่อตรง ๕. มัททวะ - ความอ่อนโยน ๖. ตบะ - การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ - ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ - ความ อดทน ๑๐. อวิโรธนะ - ความไม่คลาดจากธรรม.
  5. มุทุ : ว. อ่อน. (ป.). มุทุตา น. ความเป็นผู้มีใจอ่อน, ความอ่อนหวาน, ความละมุนละม่อม. (ป.).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ความอ่อน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ความอ่อน, more than 5 found, display 1-5
  1. อุปาทายรูป : รูปอาศัย, รูปที่เกิดสืบเนื่องจากมหาภูตรูป, อาการของมหาภูตรูป ตามหลักฝ่ายอภิธรรมว่า มี ๒๔ คือ ก) ประสาท หรือ ปสาทรูป ๕ ได้แก่ จักขุ ตา, โสต หู, ฆาน จมูก, ชิวหา ลิ้น, กาย, มโน ใจ, ข) โคจรรูป หรือ วิสัยรูป (รูปที่เป็นอารมณ์) ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (โผฏฐัพพะ ไม่นับเข้าจำนวน เพราะตรงกับปฐวี เตโช วาโย ซึ่งเป็นมหาภูตรูป) ค) ภาวรูป ๒ ได้แก่ อิตถีภาวะ ความเป็นหญิง และปุริสภาวะ ความเป็นชาย ง) หทัยรูป ๑ คือ หทัยวัตถุ หัวใจ จ) ชีวิตรูป ๑ คือ ชีวิตินทรีย์ ภาวะที่รักษารูปให้เป็นอยู่ ฉ) อาหารรูป ๑ คือกวฬิงการาหาร อาหารที่กินเกิดเป็นโอชา ช) ปริจเฉทรูป ๑ คือ อากาศธาตุ ช่องว่าง ญ) วิญญัติรูป ๒ คือ กายวิญญัติ ไหวกายให้รู้ความ วจีวิญญัติ ไหววาจาให้รู้ความ คือพูดได้ ฎ) วิการรูป ๕ อาการดัดแปลงต่างๆ ได้แก่ ลหุตา ความเบา, มุทุตา ความอ่อน, กัมมัญญตา ความควรแก่งาน, (อีก ๒ คือ วิญญัติรูป ๒ นั่นเอง ไม่นับอีก) ฏ) ลักขณรูป ๔ ได้แก่ อุปจยะ ความเติบขึ้นได้, สันตติ สืบต่อได้, ชรตา ทรุดโทรมได้, อนิจจตา ความสลายไม่ยั่งยืน (นับโคจรรูปเพียง ๔ วิการรูป เพียง ๓ จึงได้ ๒๔); ดู มหาภูต ด้วย
  2. กายมุทุตา : ความอ่อนโยนแห่งนามกาย, ธรรมชาติทำนามกาย คือ เจตสิกทั้งหลายให้นุ่มนวลอ่อนละมุน (ข้อ ๑๒ ในโสภณเจตสิก ๒๕)
  3. จิตตมุทุตา : ความอ่อนแห่งจิต, ธรรมชาติทำจิตให้นมนวลอ่อนละมุน (ข้อ ๑๓ ในโสภณเจตสิก ๒๕)
  4. มัททวะ : ความอ่อนโยน, ความนุ่มนวล, ความละมุนละไม (ข้อ ๕ ในราชธรรม ๑๐)
  5. ความค้ำ : ในประโยคว่า เราจักไม่ทำความค้ำ ไปในละแวกบ้าน เดินเอามือค้ำบั้นเอว นั่งเท้าแขน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ความอ่อน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความอ่อน, more than 5 found, display 1-5
  1. มทฺทว : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ณ ปัจ. ภาวทัต. ความอ่อน, ความอ่อน โยน. ณ อัจ. สกัด วิ. มุทุโน ภาโว มทฺทวํ. เอา อุ ที่ มุ เป็น อ เอา อุ ที่ ทุ เป็น อว แปลง ท เป็น ทฺท.
  2. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  3. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  4. กายมุทุตา : อิต. ความอ่อนของร่างกาย, ความอ่อนแห่งนามธรรมคือเจตสิก
  5. จิตฺตมุทุตา : อิต. ความอ่อนโยนแห่งจิต
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ความอ่อน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความอ่อน, more than 5 found, display 1-5
  1. ความกระหาย : ปิปาสา, ตสฺสนํ
  2. ความกว้างขวาง : อายติ [อิ.]
  3. ความกำเริบ : กุปฺปนํ [นป.]
  4. ความกำหนัด : กามราโค [ป.]
  5. ความเกรงกลัวต่อบาป : โอตฺตปฺปํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความอ่อน, more results...

(0.7328 sec)