Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คหกรรมศาสตร, คหกรรม, ศาสตร , then คหกรรม, คหกรรมศาสตร, ศาสตร, ศาสตรา .

Eng-Thai Lexitron Dict : คหกรรมศาสตร, 7 found, display 1-7
  1. A.B. : (ABBR) ; อักษรศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Artium Baccfalaureus เท่ากับ Bachelor of Arts) ; Related:ศิลปศาสตรบัณฑิต
  2. LLB : (ABBR) ; นิติศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Bachelor of Laws) ; Syn:LL.B
  3. LL.B. : (ABBR) ; นิติศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Bachelor of Laws) ; Syn:LLB
  4. LLD : (ABBR) ; นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (คำย่อของ Doctor of Laws) ; Syn:LL.D
  5. LL.D. : (ABBR) ; นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (คำย่อของ Doctor of Laws) ; Syn:LLD
  6. LLM : (ABBR) ; นิติศาสตรมหาบัณฑิต (คำย่อ Master of Laws) ; Syn:LL.M
  7. LL.M. : (ABBR) ; นิติศาสตรมหาบัณฑิต (คำย่อของ Master of Laws) ; Syn:LLM

Thai-Eng Lexitron Dict : คหกรรมศาสตร, more than 7 found, display 1-7
  1. เกษตรศาสตรบัณฑิต : (N) ; Bachelor of Agriculture ; Related:B.Ag. ; Syn:กส.บ. ; Samp:อาจารย์ได้ปริญญาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2 สาขาวิชา คือ ศึกษาศาสตรบัณฑิต และเกษตรศาสตรบัณฑิต
  2. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต : (N) ; Bachelor of Science in Engineering ; Samp:พี่ยอดจบการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เมื่อปี 2533
  3. ศาสตร : (N) ; sword ; Related:bayonet, saber ; Syn:ศัสตรา, อาวุธ ; Def:ของมีคมเป็นเครื่องฟันแทง ; Samp:คู่ต่อสู้มีศาสตรามากมายที่จะฆ่าฟันเรา
  4. เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต : (N) ; Master of Agriculture ; Related:M.Agr. ; Syn:กส.ม.
  5. คหกรรมศาสตร : (N) ; domestic science ; Related:home economics ; Def:วิชาว่าด้วยศิลปะและศาสตร์ของการครองเรือน รวมวิชาต่างๆ ไว้หลายด้าน เช่น วิชาอาหารและโภชนาการ
  6. คุรุศาสตรดุษฎีบัณฑิต : (N) ; Doctor of Education ; Related:Ph.D., Doctor of Philosophy ; Syn:ค.ด.
  7. คุรุศาสตรบัณฑิต : (N) ; Bachelor of Education ; Related:B.Ed. ; Syn:ค.บ.
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คหกรรมศาสตร, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คหกรรมศาสตร, more than 5 found, display 1-5
  1. ศาสตร, ศาสตร : [สาดตฺระ, สาดสะตฺระ, สาด] น. ระบบวิชาความรู้, มักใช้ ประกอบหลังคําอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษยศาสตร์. (ส.).
  2. คหกรรมศาสตร : [คะหะกํามะสาด] น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัว ด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพ และเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม.
  3. ศาสตร : [สาดตฺรา] น. ศัสตรา.
  4. คห- : [คะหะ-] (แบบ) น. เรือน, ใช้เป็นคําหน้าสมาส เช่น คหกรรม. (ป.).
  5. เกษตรศาสตร : [กะเสดตฺระสาด] น. วิชาว่าด้วยเกษตรกรรม. (ส. เกฺษตฺร + ศาสฺตฺร = วิชา).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : คหกรรมศาสตร, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : คหกรรมศาสตร, 9 found, display 1-9
  1. นิคคหกรรม : การลงโทษตามพระธรรมวินัย, สังฆกรรมประเภทลงโทษผู้ทำความผิด ท่านแสดงไว้ ๖ อย่างคือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม อุกเขปนียกรรม และตัสสาปาปิยสิกากรรม
  2. กัมมขันธกะ : ชื่อหมวดหนึ่งในคัมภีร์จุลลวรรค พระวินัยปิฎก ว่าด้วยนิคคหกรรม ๕ ประเภท
  3. จัมเปยยขันธกะ : ชื่อขันธกะที่ ๙ แห่ง คัมภีร์มหาวรรค วินัยปิฎก ว่าด้วยข้อควรทราบบางแง่เกี่ยวกับนิคคหกรรมต่างๆ
  4. จุลวรรค : ชื่อคัมภีร์อันเป็นหมวดหนึ่งแห่งพระวินัยปิฎก ซึ่งมีทั้งหมด ๕ หมวด คือ อาทิกัมม์ ปาจิตตีย์ มหาวรรค จุลวรรค บริวาร ; คัมภีร์จุลวรรค มี ๑๒ ขันธกะ คือ ๑.กัมมขันธกะ ว่าด้วยเรื่องนิคคหกรรม ๒.ปาริวาสิกขันธกะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้อยู่ปริวาส ผู้ประพฤติมานัต และผู้เตรียมจะอัพภาน ๓.สมุจจยขันธกะ ว่าด้วยระเบียบปฏิบัติต่างๆ ในการประพฤติวุฏฐานวิธี ๔.สมถขันธกะ ว่าด้วยการระงับอธิกรณ์ ๕.ขุททกวัตถุขันธกะ ว่าด้วยข้อบัญญัติปลีกย่อยจำนวนมาก เช่น การปลงผม ตัดเล็บ ไม้จิ้มฟัน ของใช้ต่างๆ เป็นต้น ๖.เสนาสนขันธกะ ว่าด้วยสังฆเภทและสังฆสามัคคี ๘.วัตตขันธกะ ว่าด้วยวัตรต่างๆ เช่น อาคันตุกวัตร เป็นตน ๙.ปาติโมกขัฏฐปนขันธกะ ว่าด้วยระเบียบในการงดสวดปาฏิโมกข์ในเมื่อภิกษุมีอาบัติติดตัวมาร่วมฟังอยู่ ๑๐.ภิกขุนีขันธกะ ว่าด้วยเรื่องภิกษุณีเริ่มแต่ประวัติการอนุญาตให้มีการบวชครั้งแรก ๑๑.ปัญจสติกขันธกะ ว่าด้วยเรื่องสังคายนาครั้งที่ ๑ ๑๒.สัตตสติกขันธกะ ว่าด้วยสังคายนาครั้งที่ ๒ (พระไตรปิฎกเล่ม ๖-๗); ต่อจาก มหาวรรค
  5. ตัชชนียกรรม : กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุอันจะพึงขู่, สังฆกรรมประเภทนิคคหกรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งสงฆ์ทำการตำหนิโทษภิกษุผู้ก่อความทะเลาะวิวาท ก่ออธิกรณ์ขึ้นในสงฆ์ เป็นผู้มีอาบัติมาก และคลุกคลีกับคฤหัสถ์ในทางที่ไม่สมควร
  6. นิคคหวิธี : วิธีข่ม, วิธีทำนิคหะ, วิธีลงโทษ ดู นิคคหกรรม
  7. นิยสกรรม : กรรมอันสงฆ์พึงทำให้เป็นผู้ไร้ยศ ได้แก่ การถอดยศ, เป็นชื่อนิคคหกรรมที่สงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีอาบัติมาก หรือคลุกคลีกับคฤหัสถ์ ด้วยการคลุกคลีอันไม่ควร โดยปรับให้ถือนิสัยใหม่อีก ดู นิคคหกรรม
  8. มหาวรรค : ชื่อคัมภีร์อันเป็นหมวดที่ ๓ ใน ๕ หมวด แห่งพระวินัยปิฎก คือ อาทิกัมม์ ปาจิตตีย์ มหาวรรค จุลวรรค บริวาร, มหาวรรค มี ๑๐ ขันธกะ (หมวด ตอน หรือบท) คือ ๑.มหาขันธกะ (ว่าด้วยการบรรพชาอปสมบท เริ่มแต่เหตุการณ์หลังตรัสรู้ใหม่ๆ และการประดิษฐานพระศาสนา) ๒.อุโปสถขันธกะ (ว่าด้วยอุโบสถและสีมา) ๓.วัสสูปนายิกขันธกะ (ว่าด้วยการเข้าพรรษา) ๔.ปวารณาขันธกะ (ว่าด้วยปวาณา) ๕.จัมมขันธกะ (ว่าด้วยเครื่องหนัง เช่น รองเท้าและเครื่องลาด) ๖.เภสัชชขันธกะ (ว่าด้วยเรื่องยาตลอดจนเรื่องกัปปิยะ อกัปปิยะ และกาลิกทั้ง ๔) ๗.กฐินขันธกะ (ว่าด้วยกฐิน) ๘.จีวรขันธกะ (ว่าด้วยเรื่องจีวร) ๙.จัมเปยยขันธกะ (ว่าด้วยข้อควรทราบบางอย่างเกี่ยวกับนิคคหกรรมต่างๆ) ๑๐.โกสัมพิกขันธกะ (ว่าด้วยเรื่องภิกษุชาวเมืองโกสัมพี วิวาทกันและสังฆสามัคคี) ดู ไตรปิฎก
  9. โอสารณา : การเรียกเข้าหมู่, เป็นชื่อสังฆกรรมจำพวกหนึ่ง มีทั้งที่เป็นอปโลกนกรรม (เช่น การรับสามเณรผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจาซึ่งถูกนาสนะไปแล้วและเธอกลับตัวได้) เป็นญัตติกรรม (เช่น เรียกอุปสัมปทาเปกขะที่สอนซ้อมอันตรายิกธรรมแล้ว เข้าไปในสงฆ์) เป็นญัตติทุติยกรรม (เช่น หงายบาตรแก่คฤหัสถ์ที่กลับตัวประพฤติดี) เป็นญัตติจตุตถกรรม (เช่น ระงับนิคคหกรรมที่ได้ทำแก่ภิกษุ)

ETipitaka Pali-Thai Dict : คหกรรมศาสตร, 1 found, display 1-1
  1. นิคฺคหกมฺม : (นปุ.) นิคคหกรรม นิคหกรรม ชื่อกรรมอันสงฆ์ลงโทษแก่ภิกษุเพื่อให้ เข็ดหลาบ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คหกรรมศาสตร, not found

(0.1540 sec)