Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คัด , then คด, คตฺ, คัด .

Eng-Thai Lexitron Dict : คัด, more than 7 found, display 1-7
  1. extract : (VT) ; คัดลอกหรือตัดทอน (ข้อความ) ; Related:คัด, ตัดทอน ; Syn:cite, excerpt, quote
  2. elect : (VT) ; คัดเลือก ; Related:เลือก, คัด, ออกเสียงเลือกตั้ง ; Syn:choose, select
  3. choose from : (PHRV) ; คัดเลือกจาก ; Related:คัดสรรจาก ; Syn:select from
  4. cue in : (PHRV) ; คัดเลือก ; Related:คัดสรร
  5. cull from : (PHRV) ; คัดเลือกจาก ; Related:คัดสรรจาก
  6. cut out : (PHRV) ; คัดออกมา ; Related:คัดสรร ; Syn:cull out
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : คัด, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : คัด, more than 7 found, display 1-7
  1. คัด : (V) ; select ; Related:pick, choose, assort ; Syn:เลือกสรร, คัดเลือก, เลือกเฟ้น ; Def:เลือกจากสิ่งที่รวมกันอยู่ ; Samp:ในอดีตปฏิทินแม่โขงนั้นดังมากที่สุดเพราะคัดเอาบรรดาสาวสวยมานุ่งน้อยห่มน้อยถ่ายภาพกันให้เห็น
  2. คัด : (ADJ) ; congested ; Related:obstructive, stuffy ; Def:แน่นหรือตึง ; Samp:การใส่ยกทรงจะช่วยป้องกันอาการนมคัดได้ แต่ต้องเป็นยกทรงที่ไม่รัดควรเป็นแบบที่พยุงเต้านม
  3. คัด : (V) ; copy ; Related:transcribe, excerpt, duplicate, reproduce ; Def:ลอกข้อความหรือลวดลายออกจากต้นฉบับ ; Samp:ข้าพเจ้าเห็นว่าคงจักเป็นประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านมากทีเดียวจึงขออนุญาตคัดข้อความดังกล่าวนั้นมาเสนอท่านผู้อ่าน
  4. คัด : (V) ; force ; Related:prize, lever ; Def:งัดให้เผยอหรือเคลื่อนที่ ; Samp:เมื่อรวบรวมไม้ซุงได้จำนวนมากพอแล้วจึงคัดหรือกลิ้งไม้ซุงนั้นลงน้ำเรียกกันว่า การคัดไม้ลงน้ำ
  5. คัด : (V) ; steer ; Related:helm, take the tiller ; Def:ใช้พายหรือแจวงัดน้ำออกจากตัว ; Samp:เขาคัดหางเสือเปลี่ยนทิศเดินเรือเฉียงคลื่นลมมุ่งลงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
  6. คัดแยก : (V) ; sort out ; Related:pick out, screen, choose, select ; Syn:คัด, เลือกเฟ้น ; Def:เลือกสิ่งที่รวมกันอยู่ออกจากกัน ; Samp:หลังจากเก็บเกี่ยวต้นข้าวโพดแล้ว เกษตรกรจะคัดแยกต้นที่สมบูรณ์แข็งแรงออกมาก่อน
  7. คัดเลือก : (V) ; choose ; Related:select, pick, assort ; Syn:เลือกสรร, คัด, เลือก, เลือกเฟ้น ; Samp:ผู้เชี่ยวชาญมาศึกษาปัญหาทางด้านนี้ในเมืองไทยเป็นเวลาหลายเดือนและได้คัดเลือกนักศึกษาไทยไปอบรมในต่างประเทศด้วย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คัด, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คัด, more than 5 found, display 1-5
  1. คัด : ก. เลือก, แยกสิ่งที่รวมกันอยู่, เช่น คัดออก คัดเอาไว้, งัดให้เผยอหรือ เคลื่อนที่ เช่น คัดไม้ซุง, ใช้พายหรือแจวงัดนํ้าออกจากตัว, ตรงข้ามกับ วาดเรือ; ลอกข้อความหรือลวดลายออกมาจากต้นฉบับ เช่น เอาหนังสือนี้ ไปคัด. (อะหม คัด ว่า แยก, ทําให้แยก).
  2. คัด : ว. แน่นหรือตึง เช่น จมูกคัด นมคัด.
  3. คัด : ก. เขียนด้วยตัวบรรจง เช่น เขียนเร็ว ๆ อย่ามัวแต่คัด.
  4. คัดเค้า : น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Oxyceros horridus Lour. ในวงศ์ Rubiaceae มีหนามโค้งแหลม ดอกสีขาว ๆ เหลือง ๆ กลิ่นหอม, คัดเค้าเครือ ก็เรียก.
  5. คัดไทย : น. วิชาคัดภาษาไทยตามที่ครูสั่ง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : คัด, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : คัด, 3 found, display 1-3
  1. สรร : เลือก, คัด
  2. ปฏิกโกสนา : การกล่าวคัดค้านจังๆ (ต่างจากทิฏฐาวิกัมม์ ซึ่งเป็นการแสดงความเห็นแย้ง ชี้แจงความเห็นที่ไม่ร่วมด้วยเป็นสวนตัว แต่ไม่ได้คัดค้าน)
  3. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ

ETipitaka Pali-Thai Dict : คัด, more than 5 found, display 1-5
  1. กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
  2. เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
  3. ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
  4. ธมฺมสคีติ ธมฺมสงฺคีติ : (อิต.) การร้อยกรองซึ่งธรรม, การสังคายนาซึ่งธรรม, การ ร้อยกรองธรรม, การสังคายนามธรรม (คือการชำระพระธรรมวินัย คัดเอาคำที่ถูกต้องไว้).
  5. มาคธี : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, โยถิกา (คัดเค้าเข็ม), ดีปลี. วิ. มคเธ ภวา มาคธี. ณี ปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : คัด, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คัด, 4 found, display 1-4
  1. คด, งอ : วงฺก
  2. โก่ง, คด, งอ : โอภคฺค
  3. คดอาหาร : อาหารํ วฑฺฒยึสุ
  4. ร่างกาย : กาโย, เทโห, อตฺตภาโว, สรีโร, คตฺโต, กเฬวโร

(0.1042 sec)