คุหา : (แบบ) น. ถํ้า, คูหา. (ป., ส.).
คูหา : น. ถํ้า; สิ่งก่อสร้างเป็นห้อง ๆ อย่างตึกแถว แต่ละห้องเรียกว่า คูหา, ลักษณนามเรียกสิ่งก่อสร้างเช่นนั้น เช่น ตึกแถวนี้มี ๑๐ คูหา; โดย อนุโลมใช้เรียกช่องที่กั้นไว้เป็นสัดส่วนสำหรับใช้ประโยชน์อย่างใด อย่างหนึ่ง เช่น คูหาลงคะแนนในที่เลือกตั้งสำหรับใช้ในการกาบัตร ออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง.
ซุ้มคูหา : น. ซุ้มรอบพระปรางค์และพระเจดีย์สำหรับประดิษฐาน พระพุทธรูป.
ข้างกบ : น. กระดานกรุกระหนาบข้างเสาในพระระเบียง ปลายแผ่น กระดานยันใต้ท้องสะพานที่พาดอยู่บนหัวเสา, กระดานกรุกระหนาบ ข้างคูหาหรือช่องหน้าต่างโบสถ์ วิหาร พระที่นั่งต่าง ๆ, บานกบ ก็ว่า.
คฤห, คฤห- : [คฺรึ, คะรึหะ-] น. เรือน, ช่องคูหา, ที่นั่งบนเรือหรือรถมีลักษณะ อย่างเรือน เช่น เรือคฤห รถคฤห. (ส.).
จระนำ : [จะระ-] น. ซุ้มคูหาท้ายวิหารหรือท้ายโบสถ์มักเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป เรียกว่า ซุ้มจระนํา. (ทมิฬ จาฬรัม ว่า หน้าต่าง).
บานกบ : น. กระดานกรุกระหนาบข้างเสาในพระระเบียง ปลาย แผ่นกระดานยันใต้ท้องสะพานที่พาดอยู่บนหัวเสา, กระดาน กรุกระหนาบข้างคูหาหรือช่องหน้าต่างโบสถ์ วิหาร พระที่นั่ง ต่าง ๆ, ข้างกบ ก็ว่า.
คุหา : (อิต.) ถ้ำ, คูหา คือช่องที่เว้าเข้าไป. คุหฺ สํวรเณ, อ. เป็น คูหา ก็มี.
คิริคุหา คิริคูหา : (อิต.) ช่องแห่งภูเขา, ถ้ำ.
คุหาสย : (วิ.) มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย วิ. คุหา อาสยา อสฺส อตฺถีติ คุหาสโย คุหาสยํ วา คุหาสยา วา. นอนอยู่ในถ้ำ วิ. คุหายํ สยตีติ คุหาสยํ (จิตฺตํ).
คิริคพฺภร : นป., คิริคุหา อิต. เงื้อมเขา, ซอกเขา, ถ้ำ
กุหร : (นปุ.) รู, ช่อง, โพรง, คูหา, บ่อ, แอ่ง. กุห. วิมฺหยเน, อโร. ส. กุหร.
อุคฺคหายติ : ก. ถือเอา, เรียนเอา
โอคุห : ป. เต่า
คพฺภร : (นปุ.) ถ้ำ, ซอกเขา, คูหา. คพฺภฺ ธาร- เณ, อโร. ครฺ เสจเน วา, ภโร, รสฺส พตฺตํ.
องฺคหาร : (ปุ.) การออกท่าทางด้วยอวัยวะ, การออกท่าทางขณะพูด, การร่ายรำ.วิ.องฺคสฺสหาโรองฺคหาโร.