Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฆราวาสธรรม, ฆราวาส, ธรรม , then ฆราวาส, ฆราวาสธรรม, ธมฺม, ธรรม, ธรรมะ, ธรรมา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ฆราวาสธรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. laic : (N) ; ฆราวาส ; Related:คนสามัญ ; Syn:laic, layman
  2. laical : (N) ; ฆราวาส ; Related:คนสามัญ ; Syn:laic, layman
  3. layman : (N) ; ฆราวาส ; Related:ผู้ครองเรือน, คฤหัสถ์ ; Syn:laity
  4. laywoman : (N) ; ฆราวาสหญิง
  5. demoralization : (N) ; การทำให้เสื่อมเสียศีลธรรม ; Related:การทำให้หมดศีลธรรม
  6. demoralizing : (ADJ) ; ซึ่งเสื่อมเสียศีลธรรม ; Related:ชวนให้เสื่อมเสียศีลธรรม
  7. immoral : (ADJ) ; ซึ่งผิดทำนองคลองธรรม ; Related:ผิดศีลธรรม, ผิดศีล, ซึ่งไม่เหมาะสม, ซึ่งไม่ซื่อสัตย์, ซึ่งขัดกับหลักคำสอน ; Syn:sinful, unethical, wicked ; Ant:moral, pious, pure
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ฆราวาสธรรม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ฆราวาสธรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. ฆราวาส : (N) ; layman ; Related:laity, layperson ; Syn:ผู้ครองเรือน, คฤหัสถ์ ; Def:คนทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่นักบวช, คนผู้อยู่ในครองเรือน ; Samp:ฆราวาสคือบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้เป็นพระภิกษุสงฆ์ ; Unit:คน
  2. ธรรม : (N) ; doctrine ; Related:Teaching of Buddha, dharma ; Syn:คำสั่งสอน, คุณความดี, หลักธรรม ; Def:หลักคำสั่งสอนในศาสนา
  3. คฤหัสถ์ : (N) ; householder ; Related:layman, laity ; Syn:ฆราวาส ; Ant:สงฆ์, พระภิกษุ ; Def:ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช ; Samp:สังคมของพระกับสังคมของคฤหัสถ์นั้นแม้จะอยู่ในสังคมร่วมกัน แต่ทัศนคติกติกาของสังคมคงต่างกัน ; Unit:คน
  4. ธรรมจริยา : (N) ; observance of righteousness ; Related:religious life ; Syn:ธรรมจรณะ, ธรรมจรรยา, ธัมมจริยา ; Ant:ธรรมจริยา ; Def:การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม ; Samp:พระภิกษุรูปนี้ท่านมีธรรมจริยาน่าเลื่อมใส
  5. ธรรมปฏิรูป : (N) ; counterfeit of moral rectitude ; Related:synthetic dharma ; Syn:ธรรมประติรูป, ธรรมปลอม ; Def:สิ่งที่ไม่แท้, ธรรมปลอมที่ไม่ใช่พุทธศาสนา
  6. ธรรมยุต : (N) ; Dhammyuttika ; Related:sect of Buddhist monks, sub-sect of the Thai theravada school of Buddhism ; Syn:ธรรมยุติกนิกาย ; Def:ชื่อนิกายหนึ่งของพุทธศาสนา
  7. ธรรมคุณ : (N) ; virtue of dharma ; Syn:ธัมคุณ, คุณของพระธรรม ; Def:บทแสดงคุณของพระธรรม ; Unit:เรื่อง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ฆราวาสธรรม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ฆราวาสธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ฆราวาส : [คะราวาด] น. คนผู้อยู่ครองเรือน, คนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่ บรรพชิตหรือนักบวช. (ป.).
  2. ธรรม ๑, ธรรม, ธรรม : [ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
  3. ธรรม : น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.
  4. ธรรม : คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไป จากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
  5. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ฆราวาสธรรม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ฆราวาสธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ฆราวาสธรรม : หลักธรรมสำหรับการครองเรือน, ธรรมของผู้ครองเรือน มี ๔ อย่างคือ ๑.สัจจะ ความจริง เช่น ซื่อสัตย์ต่อกัน ๒.ทมะ ความฝึกฝน ปรับปรุงตน เช่น รู้จักข่มใจ ควบคุมอารมณ์ บังคับตนเองปรับตัวเข้ากับการงานและสิ่งแวดล้อมให้ได้ดี ๓.ขันติ ความอดทน ๔.จาคะ ความเสียสละ เผื่อแผ่ แบ่งปัน มีน้ำใจ
  2. ธรรม : สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น
  3. ฆราวาส : การอยู่ครองเรือน, ชีวิตชาวบ้าน; ในภาษาไทย มักใช้หมายถึงผู้ครองเรือน คือ คฤหัสถ์
  4. ธรรมของฆราวาส : ดู ฆราวาสธรรม
  5. ทมะ : การฝึก, การฝึกฝนปรับปรุงตน, การรู้จักข่มจิตข่มใจ บังคับควบคุมตนเองได้ ไม่พูดไม่ทำเพียงตามที่อยาก แต่พูดและทำตามเหตุผลที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่าดีงามสมควรเป็นประโยชน์ รู้จักปรับตัวปรับใจ และแก้ไขปรับปรุงตนด้วยปัญญาไตร่ตรองให้งอกงามดียิ่งขึ้นอยู่เสมอ (ข้อ ๒ ใน ฆราวาสธรรม ๔)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ฆราวาสธรรม, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฆราวาสธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ฆราวาส : (ปุ.) การอยู่ครองซึ่งเรือน, คนอยู่ ครอบครองซึ่งเรือน, คนอยู่ครองเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส(คนที่มิใช่นักบวช)
  2. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  3. ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  4. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  5. อคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส, คฤหัสถ์, ชาวบ้าน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ฆราวาสธรรม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ฆราวาสธรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ฆราวาส : ฆราวาโส
  2. ธรรมมาสน์ : ธมฺมาสนํ, ธมฺมปลฺลงฺโก
  3. ค้นคว้าธรรม : ธมฺมวิจโย
  4. รักษาไว้ซึ่งคนทรงธรรม : ธมฺมธารึ ธาเรติ
  5. ปฏิบัติธรรม : ธมฺมานุธมฺมปสุโต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ฆราวาสธรรม, more results...

(0.2449 sec)