Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ง่วงเหงาหาวนอน, ง่วงเหงา, หาวนอน , then งวงหงา, งวงหงาหาวนอน, ง่วงเหงา, ง่วงเหงาหาวนอน, หาวนอน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ง่วงเหงาหาวนอน, 4 found, display 1-4
  1. yawn : (VI) ; หาว ; Related:หาวนอน, อ้าปากกว้าง
  2. yawn : (N) ; การหาว ; Related:การหาวนอน, การอ้าปากกว้าง
  3. yawner : (N) ; ผู้หาว ; Related:ผู้หาวนอน, ผู้อ้าปากกว้าง

Thai-Eng Lexitron Dict : ง่วงเหงาหาวนอน, 6 found, display 1-6
  1. ง่วงเหงาหาวนอน : (V) ; be drowsy ; Related:be sleepy, be dozy, be somnolent, be listless ; Syn:ง่วง, ง่วงนอน, เซื่องซึม, ซึม, ซึมเซา, ง่วงซึม ; Ant:ตื่นตัว, ว่องไว, กระฉับกระเฉง, กระปรี้กระเปร่า ; Def:มีอาการซึมเซาอยากนอนมาก ; Samp:วันนี้ผมรู้สึกง่วงเหงาหาวนอนอย่างไรชอบกล
  2. หาวนอน : (V) ; yawn ; Related:be drowsy, feel sleepy ; Syn:ง่วงเหงาหาวนอน ; Def:หาวเพราะง่วงนอน ; Samp:พอหนังจบเด็กๆ ก็พากันหาวนอนกันเป็นแถว
  3. ง่วงเหงา : (V) ; be sleepy ; Related:be drowsy, be somnolent, be dozy ; Syn:ง่วง, ง่วงซึม, ซึม, ซึมเซา, ง่วงงุน, เซื่องซึม ; Ant:กระปรี้กระเปร่า, กระฉับกระเฉง ; Def:ลักษณะง่วงซึมไม่กระปรี้กระเปร่า ; Samp:การที่ต่อมทอมซิลอักเสบบ่อยทำให้เด็กขาดเรียน อ่อนเพลีย ง่วงเหงาและการรับรู้ไม่สมบูรณ์
  4. หาว : (V) ; yawn ; Syn:หาวนอน ; Def:กิริยาที่สูดลมเข้าแล้วระบายลมออกทางปากเมื่อเวลาง่วงนอน ; Samp:ฉันเริ่มหาวติดกันหลายครั้ง เพราะรอนานเกินไป
  5. งง : (ADJ) ; sluggish ; Related:apathetic, asleep, drowsy, dormant, inert, passive, slow-moving ; Syn:สะลึมสะลือ, ซึม, ง่วงเหงา ; Samp:คนไข้ยังมีอาการงงอยู่เลย
  6. ซึมกะทือ : (ADV) ; dumbly ; Related:drowsily, lazily, listlessly ; Syn:ซึมเซา, ง่วงเหงา, ไม่มีชีวิตชีวา ; Ant:สดชื่น, ร่าเริง, แจ่มใส ; Samp:เขานั่งซึมกะทืออยู่ในห้องตลอดทั้งวัน

Royal Institute Thai-Thai Dict : ง่วงเหงาหาวนอน, 8 found, display 1-8
  1. ง่วงเหงาหาวนอน : ก. มีอาการซึมเซาอยากนอนมาก.
  2. หาวนอน : ก. หาวเพราะง่วงนอน, บางทีใช้เข้าคู่กับคํา ง่วงเหงา เป็น ง่วงเหงา หาวนอน ก็มี.
  3. ง่วงเหงา : [-เหฺงา] ว. มีลักษณะง่วงซึมไม่กระปรี้กระเปร่า.
  4. ธรณีสาร ๑ : น. เสนียดจัญไร, เรียกคนที่มีลักษณะซึมเซาง่วงเหงาหาวนอน อยู่เสมอว่า คนต้องธรณีสาร.
  5. นิวรณ์ : น. สิ่งห้ามกันจิตไว้มิให้บรรลุความดี มี ๕ ประการ คือ ความพอใจ รักใคร่ ๑ ความพยาบาท ๑ ความง่วงเหงาหาวนอน ๑ ความฟุ้งซ่าน รําคาญ ๑ ความลังเลใจ ๑. (ป.).
  6. ซึมกะทือ : (ปาก) ว. ซึมเซา ง่วงเหงา หรือเกียจคร้าน.
  7. หงอยก๋อย : ว. ซบเซา, จับเจ่า, เซื่องซึม, ง่วงเหงา.
  8. ถีน : [ถีนะ] (แบบ) น. ความง่วงเหงา, ความคร้านกาย. (ป.).

Budhism Thai-Thai Dict : ง่วงเหงาหาวนอน, 1 found, display 1-1
  1. ถีนมิทธะ : ความหดหู่และเคลิบเคลิ้ม, ความง่วงเหงาซึมเซา (ข้อ ๓ ในนิวรณ์ ๕)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ง่วงเหงาหาวนอน, 5 found, display 1-5
  1. ถีนมิทฺธ : (นปุ.) ความหดหู่และความเคลิบเคลิ้ม, ความง่วงเหงาและความหาวนอน.
  2. ปจลายิกา : อิต. การง่วงเหงาหาวนอน, การเคลิ้มหลับไป
  3. อลสตา : อิต. ความง่วงเหงาหาวนอน, ความขี้เกียจ
  4. ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
  5. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ง่วงเหงาหาวนอน, not found

(0.1860 sec)