ฉะนั้น : ว. ฉันนั้น, เช่นนั้น, อย่างนั้น, ดังนั้น, ดั่งนั้น, เพราะฉะนั้น, เพราะเหตุนั้น.
เพราะฉะนั้น : สัน. คําสําหรับนําหน้าความที่บอกผลหรือข้อสรุป.
แขกไม่ได้รับเชิญ : (สำ) น. คนหรือสัตว์ที่ไม่พึงปรารถนาซึ่งเข้ามาทำ ให้เกิดความเสียหายหรือเดือดร้อนรำคาญ มักหมายถึง ขโมยหรือสัตว์ บางชนิด เช่น ก่อนนอนอย่าลืมปิดประตูตูหน้าต่าง มิฉะนั้นแขกไม่ได้ รับเชิญจะขนของไปหมด กางเต็นท์นอนในป่าระวังแขกไม่ได้รับเชิญ จะเข้ามา.
คู่โค : (โบ) น. นาที่ต้องเสียค่านาตามหน้าโฉนดทุก ๆ ปี ผิดกับ นาฟางลอย ซึ่งต้องเสียค่านาแต่เฉพาะในปีที่ปลูกข้าว. [``ที่เรียกว่า นาคู่โค เพราะวิธีเก็บหางข้าวนาชนิดนี้นับจํานวนโค (กระบือ) ที่ใช้ทํานาในที่นั้น ๆ ด้วยถือเป็นยุติว่า โคคู่หนึ่งคงจะทํานาในที่ เช่นนั้นได้ผลประมาณปีละเท่านั้น เอาเกณฑ์จํานวนโคขึ้นตั้งเป็น อัตราหางข้าวที่จะต้องเสีย เพราะฉะนั้น นาคู่โค ถึงจะทําหรือมิทํา จึงต้องเสียหางข้าว'' -พงศ. ร. ๒].
มนู : น. ชื่อพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก มี ๑๔ องค์ เรียงกัน เป็นยุค ๆ ไป, ยุคหนึ่งเรียกว่า มนวันดร นานกว่า ๔,๐๐๐,๐๐๐ ปี องค์แรก คือ พระสวายมภูวะ พระมนูองค์นี้ถือกันว่าเป็นผู้ทรงออก กฎหมายหรือธรรมศาสตร์ซึ่งยังมีอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้เรียกว่า มนุสัมหิตา หรือ มนุสมฺฤติ, เพราะฉะนั้น คํา มนู จึงหมายถึงกฎหมาย ก็ได้ เช่น มนูกิจ. (ส. มนุ).
หาไม่ ๓ : สัน. มิฉะนั้น, ไม่เช่นนั้น, เช่น เธอต้องออกไปจากบ้านของฉัน เดี๋ยวนี้ หาไม่ฉันจะแจ้งตำรวจว่าเธอบุกรุก.
องศา : น. หน่วยในการวัดขนาดของมุม โดยกําหนดให้มุมที่รองรับโค้ง ๑ ใน ๓๖๐ ส่วนของเส้นรอบวง มีขนาด ๑ องศา และ ๙๐ องศา เป็น ๑ มุมฉาก; หน่วยในการวัดอุณหภูมิตามชนิดของเครื่องวัด; (โหร) น. ส่วนหนึ่งของจักรราศี คือ วงกลมในท้องฟ้า แบ่งจักรราศีออกเป็น ๑๒ ราศี และแบ่ง ๑ ราศีออกเป็น ๓๐ องศา ฉะนั้นวงกลมจึงเท่ากับ ๓๖๐ องศา. (ส. อํศ).
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ตสฺมา : อ. เพราะฉะนั้น, เพราะเหตุนั้น
ยนฺนูน : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, ถ้ากระนั้น, ถ้ากระไร, กระไรหนอ, อะไรหรือแล, ผิฉะนั้น, ผิดังนั้น, อย่ากระนั้นเลย.
อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
กณฺณ (จฺ) ฉินฺน : ค. คนหูแหว่ง, คนหูขาด
ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
ฉินฺน : ค. อันเขาตัดแล้ว, อันเขาทำลายแล้ว
ฉฏฺฐ ฉฏฺฐม : (วิ.) ที่หก วิ. ฉนฺนํ ปูรโณ ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐโมวา.ฉ ศัพท์ ฐ ปัจ. ปูรณตัท. ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง แปลง ฉฏฺฐ เป็น ฉฏฺฐม รูปฯ ๓๙๑. สัททนีติว่า ลง ม สกัด. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๔ ลง ฎฺฐ, ฏฺฐม ปัจ.
ฉินฺนก : (วิ.) ผ้าอัน...ตัดแล้ว วิ. ฉินฺนํ วตฺถํ ฉินฺนกํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ก สกัด.
ฉินฺนิริยาปถ : (วิ.) ผู้มีอิริยาบถอันขาดแล้ว (คน เปลี้ย), ผู้มีอิริยาบถคืออันไปเป็นต้น อัน ขาดแล้ว. วิ. ฉินฺโน คมนาทิริยาปโถ โส ฉินฺนิริยาปโถ.