ฉาต : (วิ.) อยาก, อยากข้าว, หิว, อ่อนเพลีย, อิดโรย. ขาทฺ ภกฺขเณ, โต, ขสฺส โฉ, ทฺโลโป. ฉา ขุทายํ วา, โต.
ฉาต ฉาตก : (ปุ. นปุ.) ความอยาก, ฯลฯ.
นิจฺฉาต : ค. ไม่หิวกระหาย, ไม่อยาก, หมดอยาก, พอใจ
ฉาตก :
๑. นป. ความหิว; ความอยาก, ความกระหาย ;
๒. ค. ดู ฉาต
ขุทา ขุทฺทา : (อิต.) ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความหิว, การกิน. ขุทฺ ชิฆจฺ- ฉายํ, โท. ศัพท์ต้นลบที่สุดธาตุ. ขุทฺทา วุจฺจติ ฉาตโก. ไตร. ๓0/๓๗๑.
ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
ฉาตกาล : นป. ฉาตกาล, ฉาตสมัย, เวลาหรือคราวอดอยาก