Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชนิก , then ชนก, ชนิก, ชนิกา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ชนิก, 4 found, display 1-4
  1. Tartar : (N) ; ชนกลุ่มที่อาศัยในเอเชียและตะวันออกของยุโรป
  2. big fish in a small pond : (IDM) ; คนสำคัญในชนกลุ่มน้อย
  3. Shan : (N) ; ฉาน (ชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ตามแถบภูเขาในพม่า ลาว จีน) ; Related:ชาวไทยใหญ่

Thai-Eng Lexitron Dict : ชนิก, more than 7 found, display 1-7
  1. ชนก : (N) ; father ; Related:dad ; Syn:พ่อ, บิดา ; Ant:ชนนี ; Samp:พระชนกของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวก็คือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  2. ชนนี : (N) ; mother ; Related:mother of a king or queen ; Syn:แม่ ; Ant:ชนก ; Samp:รายการโทรทัศน์ทุกสถานีต่างสดุดีสมเด็จพระบรมราชชนนี
  3. ชนกลุ่มน้อย : (N) ; minority ; Syn:ชนหมู่น้อย ; Samp:ประเทศไทยมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่หลายกลุ่ม ; Unit:กลุ่ม, พวก, เผ่า
  4. ชนไก่ : (N) ; cockfighting ; Related:cockfight ; Syn:กีฬาชนไก่ ; Samp:กีฬาที่เป็นที่ชื่นชอบของชาวบ้านและถือป็นการพนันด้วย ได้แก่ กัดปลา ชนไก่
  5. บิดา : (N) ; father ; Syn:บิดร, พ่อ, ชนก, คุณพ่อ ; Def:ผู้ให้กำเนิด ; Samp:ลูกที่ดีควรเชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดา มารดา ครู อาจารย์
  6. คนกลุ่มน้อย : (N) ; minority ; Syn:ชนกลุ่มน้อย, ชนหมู่น้อย ; Def:กลุ่มคนที่มีอยู่เป็นจำนวนน้อยในประเทศนั้นๆ เมื่อเทียบกับประชากรส่วนใหญ่ ; Samp:พวกมองโกเลียนเป็นคนกลุ่มน้อยในเมืองนี้ ; Unit:กลุ่ม
  7. ชนหมู่น้อย : (N) ; minority ; Syn:ชนกลุ่มน้อย ; Samp:แม้วเป็นชนหมู่น้อยที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ชนิก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ชนิก, 8 found, display 1-8
  1. ชนก, ชนก : [ชะนก, ชะนะกะ] น. ชายผู้ให้เกิด, พ่อ. (ป., ส.).
  2. ชนกกรรม : [ชะนะกะกํา] น. กรรมอันนําให้เกิดหรือกรรมอัน เป็นต้นเค้าทั้งข้างดีหรือข้างชั่ว เช่น กรรมอันทําให้เกิดเป็นคน ชั้นสูง เป็นชนกกรรมฝ่ายกุศล. (อรรถศาสน์).
  3. ชนกลุ่มน้อย, ชนหมู่น้อย : น. ชนต่างเผ่าหรือต่างเชื้อชาติที่อยู่ อาศัยรวมกันกับชนเผ่าอื่นหรือเชื้อชาติอื่นที่มีจํานวนมากกว่า.
  4. โคล ๑ : [โคน] น. ชนกลุ่มหนึ่งในประเทศอินเดียฝ่ายใต้ เช่น ผู้สืบสัมพันธ์ โคตรเค้าโคลตระกูล ทิชาเชื้อชาติธชีชูชก. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
  5. ชอง : น. ชื่อชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร มีมาก ทางตอนเหนือของจังหวัดจันทบุรี, เรียกตัวเองว่า สําเร หรือ ตําเหรด, เขมรเรียกว่า พวกปอร.
  6. นนทลี : [นนทะลี] น. แม่ เช่น สี่ไทธิเบศร์วรดิลก ชนกแลนนทลี. (สมุทรโฆษ).
  7. เผ่า : น. เหล่ากอ, กลุ่มชนเชื้อชาติเดียวกัน (มักใช้แก่ชนกลุ่มน้อยของ ประเทศ) เช่น ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ.
  8. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.

Budhism Thai-Thai Dict : ชนิก, 7 found, display 1-7
  1. ชนกกรรม : กรรมที่นำให้เกิด, กรรมที่เป็นกุศลหรืออกุศลก็ตามที่เป็นตัวแต่งสัตว์ให้เกิด คือชักนำให้ถือปฏิสนธิในภพใหม่ เมื่อสิ้นชีวิตจากภพนี้ (ข้อ ๕ ในกรรม ๑๒)
  2. อุภโตพยัญชนก : คนมีทั้ง ๒ เพศ
  3. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  4. อัญชนะ : กษัตริย์โกลิยวงศ์ผู้ครองเทวทหนคร มีมเหสีพระนามว่า ยโสธราเป็นพระชนกของพระมหามายาเทวี ผู้เป็นพระพุทธมารดาและพระนางมหาปชาบดีโคตมี (ตำนานว่ามีโอรสด้วย ๒ องค์ คือ ทัณฑปาณิ และสุปปพุทธะ)
  5. อุปฆาตกรรม : กรรมตัดรอน ได้แก่ กรรมทีเป็นกุศลดี ที่เป็นอกุศลก็ดี ซึ่งมีกำลังแรง เข้าตัดรอนการให้ผลของชนกกรรม หรือ อุปัตถัมภกกรรม ที่ตรงข้ามกับตนเสีย แล้วให้ผลแทนที่ (ข้อ ๘ ในกรรม ๑๒)
  6. อุปปีฬกกรรม : กรรมบีบคั้น ได้แก่ กรรมที่เป็นกุศลก็ดี อกุศลก็ดี ซึ่งบีบคั้นการให้ผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถุมภกกรรม ที่ตรงข้ามกับตน ให้แปรเปลี่ยนไป เช่น ถ้าเป็นกรรมดีก็บีบคั้นให้อ่อนลง ไม่ให้ได้รับผลเต็มที่ ถ้าเป็นกรรมชั่วก็เกียดกันให้ทุเลา (ข้อ ๗ ในกรรม ๑๒)
  7. อุปัตถัมภกกรรม : กรรมสนับสนุน ได้แก่ กรรมทั้งที่เป็นกุศลและอกุศลที่เข้าช่วยสนับสนุนซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม เหมือนแม่นมเลี้ยงทารกที่เกิดจากผู้อื่น ถ้ากรรมดีก็สนับสนุนให้ดีขึ้น ถ้ากรรมชั่วก็ซ้ำเติมให้เลวลงไปอีกไปอีก (ข้อ ๖ ในกรรม ๑๒)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชนิก, more than 5 found, display 1-5
  1. ชนิก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. แปลง อ ที่ น เป็น อิ.
  2. ชนิก : (อิต.) แปลเหมือน ชนนี. ชนิก ลง อา อิต.
  3. ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
  4. ทฺวาโยชนิก : ค. ประมาณสองโยชน์
  5. ปุถุชฺชนิก : ค. ผู้เป็นปุถุชน, ผู้เป็นคนธรรมดา
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ชนิก, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ชนิก, 2 found, display 1-2
  1. แม่ : มาตา, อมฺม, สหชฺชา, ชนนี, ชนิกา, ชเนตฺตี, อมฺพ (อาลปนะ)
  2. พ่อ : ปิตา, ชนโก, ตาต

(0.1504 sec)