Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตรม .

Eng-Thai Lexitron Dict : ตรม, 1 found, display 1-1
  1. anguish : (VI) ; เจ็บปวดรวดร้าว ; Related:ตรอมใจ, ระทม, ตรมตรอม, ตรม, ทรมาน, ทรมาทรกรรม

Thai-Eng Lexitron Dict : ตรม, 3 found, display 1-3
  1. ตรมใจ : (V) ; grieve ; Related:mourn, pine away, regret, be sad, be sorrowful, be disconsolate ; Syn:ตรอมใจ, กรอมใจ ; Def:ระทมใจอยู่ภายในเรื่อยไป ; Samp:นางตรมใจอยู่ด้วยความห่วงใยสามี จนกินไม่ได้นอนไม่หลับ
  2. เตรียมตรม : (V) ; be grieved ; Related:be sore at heart, sorrow ; Syn:ตรมเตรียม, เกรียมกรม, กรมเกรียม ; Def:ระทมใจจนหม่นไหม้ ; Samp:ใจของแม่เตรียมตรมถึงลูกยา
  3. ตรอม : (V) ; grieve ; Related:mourn, pine away, regret, be sad, be sorrowful, be disconsolate ; Syn:ตรม, ตรอมตรม, ระทม, เศร้า, ทุกข์ใจ

Royal Institute Thai-Thai Dict : ตรม, 8 found, display 1-8
  1. ตรม : [ตฺรม] ก. ระทม, เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น ตรมใจ; กลัด เช่น ตรมหนอง, กรม ก็ว่า.
  2. ตรมเตรียม : [-เตฺรียม] ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้เป็น กรมเกรียม เกรียมกรม หรือ เตรียมตรม ก็ได้.
  3. หน้าชื่นอกตรม : ว. ที่ทำเป็นร่าเริงแต่ในใจมีทุกข์, หน้าชื่นอกกรม ก็ว่า.
  4. กรม ๑ : [กฺรม] ก. ระทม, เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น กรมใจ; กลัด เช่น กรมหนอง. [ข. กฺรุํ (กฺรม) ว่า ลำบาก เช่น กฺรุํจิต = ลำบากใจ], ตรม ก็ว่า.
  5. กรมเกรียม : ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้ว่า เกรียมกรม ตรมเตรียม หรือ เตรียมตรม ก็มี เช่น จักขานความที่ เกรียมกรม. (กฤษณา).
  6. เกรียมกรม : ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้เป็น กรมเกรียม เตรียมตรม หรือ ตรมเตรียม ก็ได้.
  7. ระกำ ๒ : น. ความลําบาก, ความตรมใจ, ความทุกข์, เช่น ตกระกำลำบาก.
  8. อกกรม : ว. มีความระทมใจ มักใช้เข้าคู่กับคำ หน้าชื่น เป็น หน้าชื่น อกกรม, หน้าชื่นอกตรม ก็ว่า.

Budhism Thai-Thai Dict : ตรม, 2 found, display 1-2
  1. โลกุตตรปัญญา : ปัญญาที่สัมปยุตด้วยโลกุตตรมรรค, ความรู้ที่พ้นวิสัยของโลก, ความรู้ที่ช่วยคนให้พ้นโลก
  2. สุญญตา : “ความเป็นสภาพสูญ”, ความว่าง 1.ความเป็นสภาพที่ว่างจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา เฉพาะอย่างยิ่ง ภาวะที่ขันธ์ ๕ เป็นอนัตตา คือ ไร้ตัวมิใช่ตน ว่างจากความเป็นตน ตลอดจนว่างจากสาระต่างๆ เช่น สาระคือความเที่ยง สาระคือความสวยงาม สาระคือความสุข เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง หลักธรรมฝ่ายปรมัตถ์ดังเช่นขันธ์ ธาตุ อายตนะ และปัจจยาการ (อิทัปปัจจยตา หรือ ปฏิจจสมุปบาท) ที่แสดงแต่ตัวสภาวะให้เห็นความว่างเปล่าปราศจากสัตว์ บุคคล เป็นเพียงธรรมหรือกระบวนธรรมล้วนๆ 2.ความว่างจากกิเลส มีราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น ก็ดี สภาวะที่ว่างจากสังขารทั้งหลายก็ดี หมายถึง นิพพาน 3.โลกุตตรมรรค ได้ชื่อว่าเป็นสุญญตา ด้วยเหตุผล ๓ ประการ คือ เพราะลุด้วยปัญญาที่กำหนดพิจารณาความเป็นอนัตตา มองเห็นสภาวะที่สังขารเป็นสภาพว่าง (จากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน) เพราะว่างจากกิเลสมีราคะเป็นต้น และเพราะมีสุญญตา คือ นิพพาน เป็นอารมณ์ 4.ความว่าง ที่เกิดจากความกำหนดหมายในใจ หรือทำใจเพื่อให้เป็นอารมณ์ของจิตในการเจริญสมาบัติ เช่น ผู้เจริญอากิญจัญญายตนสมาบัติกำหนดใจถึงภาวะว่างเปล่าไม่มีอะไรเลย; สุญตา ก็เขียน

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตรม, 3 found, display 1-3
  1. ตรมานรูป : ค. ผู้รีบร้อน
  2. ติริม : (นปุ.) หมอก. ติรฺ อโธคติยํ, อิโย.
  3. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตรม, not found

(0.0320 sec)