Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งฉายา, ตั้ง, ฉายา , then ฉาย, ฉายา, ตง, ตั้ง, ตั้งฉายา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ตั้งฉายา, more than 7 found, display 1-7
  1. alias : (N) ; ฉายา ; Related:สมญานาม ; Syn:pseudonym, assumed name, pen name
  2. epithet : (N) ; ฉายา
  3. dub 1 : (VT) ; ขนานนาม ; Related:ตั้งฉายา, ตั้งชื่อเล่นให้ ; Syn:surname, nickname, name, designate
  4. put : (VT) ; วาง ; Related:ตั้ง ; Syn:set, settle
  5. return with : (PHRV) ; ได้รับเลือก (ตั้ง) ด้วย (คะแนนเสียง) ; Syn:elect with
  6. self-styled : (ADJ) ; ซึ่งตั้งตัวเป็น ; Related:ขนานนามตัวเอง, อ้างตัวเอง, แต่งตั้งตัวเอง, เรียกขานตัวเอง, ตั้งฉายาให้ตัวเอง ; Syn:named, called, so-called, immodestly
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ตั้งฉายา, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ตั้งฉายา, more than 7 found, display 1-7
  1. ตั้งฉายา : (V) ; nickname ; Related:give a nickname to someone ; Syn:ให้ฉายา ; Def:ตั้งชื่อให้กันเล่นๆ หรือตามลักษณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ ; Samp:พวกเราช่วยกันตั้งฉายาให้กับคุณครูทุกคนในโรงเรียน
  2. ตั้ง : (V) ; stand erect ; Related:stand on end ; Syn:ตั้งชัน ; Def:ชูตัวหรือทำให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม ; Samp:ขนตั้งชันเมื่อได้ยินเสียงหมาหอน
  3. ตั้ง : (V) ; establish ; Related:form, stand, set up, erect, found ; Syn:สร้าง, ก่อตั้ง, จัดตั้ง, แต่งตั้ง ; Def:ทำให้มีขึ้นหรือสร้างให้มีขึ้น เช่น ตั้งตำแหน่งใหม่, ตั้งบ้านตั้งเรือน ; Samp:ัฐบาลได้ตั้งศูนย์ปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติขึ้นเมื่อปลายปี 2541
  4. ตั้ง : (V) ; establish ; Related:form, stand, set up, erect, found ; Syn:สร้าง, ก่อตั้ง, จัดตั้ง, แต่งตั้ง ; Def:ทำให้มีขึ้นหรือสร้างให้มีขึ้น เช่น ตั้งตำแหน่งใหม่, ตั้งบ้านตั้งเรือน ; Samp:ัฐบาลได้ตั้งศูนย์ปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติขึ้นเมื่อปลายปี 2541
  5. ตั้ง : (V) ; place ; Related:put, lay, set up, install ; Syn:วาง, ติดตั้ง, จัดวาง ; Samp:เขานำกระถางต้นไม้มาตั้งทุกมุมในบ้านเพื่อความสวยงาม
  6. ฉายา : (N) ; alias ; Related:nickname, designation ; Syn:ชื่อ, นาม, สมญานาม, ชื่อเล่น ; Def:ชื่อตั้งให้กันเล่นๆ หรือตามลักษณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ ; Samp:เขายังเป็นนักธุรกิจใหญ่ผู้กว้างขวางในเพชรบุรีจนกระทั่งมหาดไทยให้ฉายาว่าเป็นเจ้าพ่อ
  7. ตั้ง : (ADV) ; up to ; Related:as much as ; Syn:มาก ; Samp:นักกีฬาที่ได้เหรียญทองจากซีเกมส์จะได้รับเงินรางวัลตั้งหนึ่งแสนบาท
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ตั้งฉายา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ตั้งฉายา, more than 5 found, display 1-5
  1. ตั้ง : ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าว เอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้ง เปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. บ. คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. น. ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง. ตั้งกรม ก. สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม. ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ก. ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย. ตั้งไข่ ก. สอนยืน (ใช้แก่เด็ก). ตั้งเค้า ก. เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า. ตั้งแง่ ก. ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด. ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดใจจ่อ. ตั้งต้น ก. เริ่มทํา, ขึ้นต้น. ตั้งตัว ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้ง ตัวเป็นใหญ่. ตั้งตาคอย ก. เฝ้าคอย. ตั้งแต่ บ. นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จน กระทั่ง). ตั้งแต่ง ก. ยกขึ้น, สถาปนา. ตั้งโต๊ะ ก. จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา. ตั้งท้อง ว. เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง. ตั้งท่า ก. วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่. ตั้งธาตุ ก. จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ. ตั้งนาฬิกา ก. เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา. ตั้งนาฬิกาปลุก ก. ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ. ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ก. มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น. ตั้งหัวเรือ ก. ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา. ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.
  2. ฉายา : น. เงา, ร่มไม้. (ป.); ชื่อที่พระอุปัชฌาย์ตั้งให้เป็นภาษาบาลีเมื่ออุปสมบท, ชื่อตั้งให้กันเล่น ๆ หรือตามลักษณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ. (ป., ส.).
  3. ฉายา : (กลอน; ปาก) น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น ฉายามิใคร่จะจากไป. (มโนห์รา).
  4. ก่อตั้ง : ก. จัดตั้งขึ้น, ริเริ่มตั้งขึ้น.
  5. ขนาน ๒ : [ขะหฺนาน] ก. เรียงคู่กันไป เช่น เรือแล่นขนานกันไป วิ่งขนาน, เรียก เรือที่ผูกหรือตรึงติดเรียงคู่กันสําหรับข้ามฟากว่า เรือขนาน; เรียก, ตั้ง, เช่น ขนานนาม ว่า ตั้งชื่อ. (คณิต) น. เรียกเส้นตรงคู่ใด ๆ ซึ่งอยู่ห่างกัน เป็นระยะเท่ากันโดยตลอดว่า เส้นขนาน. (ข. ขฺนาน ว่า เทียบ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ตั้งฉายา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ตั้งฉายา, more than 5 found, display 1-5
  1. ฉายา : 1.เงา, อาการที่เป็นเงาๆ คือ ไม่ชัดออกไป, อาการเคลือบแฝง 2.ชื่อที่พระอุปัชฌายะตั้งให้แก่ผู้ขอบวชเป็นภาษาบาลี เรียกว่าชื่อฉายา ที่เรียกเช่นนี้เพราะเดิมเมื่อเสร็จการบวชแล้ว ต้องมีการวัดฉายาคือเงาแดดด้วยการสืบเท้าว่าเงาหดหรือเงาขยายแค่ไหน ชั่วกี่สืบเท้า การวัดเงาด้วยเท้านั้นเป็นมาตรานับเวลา เรียกว่า บาท เมื่อวัดแล้วจดเวลาไว้และจดสิ่งอื่นๆ เช่นชื่อพระอุปัชฌายะ พระกรรมวาจาจารย์ จำนวนสงฆ์ และชื่อผู้อุปสมบท ทั้งภาษาไทยและมคธ ลงในนั้นด้วย ชื่อใหม่ที่จดลงตอนวัดฉายานั้น จึงเรียกว่าชื่อฉายา
  2. ฉายาปาราชิก : เงาแห่งปาราชิก คือ ประพฤติตนในฐานะที่ล่อแหลมต่อปาราชิก อาจเป็นปาราชิกได้ แต่จับไม่ถนัด เรียกว่าฉายาปาราชิก เป็นผู้ที่สงฆ์รังเกียจ
  3. สีมามีฉายาเป็นนิมิต : สีมาที่ทำเงาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีเงาภูเขาเป็นต้นเป็นนิมิต (มติสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสว่า สีมาที่ถือเงาเป็นแนวนิมิต) จัดเป็นสีมาวิบัติอย่างหนึ่ง
  4. ลาสิกขา : ปฏิญญาตนเป็นผู้อื่นจากภิกษุต่อหน้าภิกษุด้วยกัน หรือต่อหน้าบุคคลอื่นผู้เข้าใจความ แล้วละเพศภิกษุเสีย ถือเพศที่ปฏิญญานั้น, ละเพศภิกษุสามเณร, สึก ; คำลาสิกขาที่ใช้ในบัดนี้ คือ ตั้ง “นโม ฯลฯ” ๓ จบ แล้วกล่าวว่า “สิกขัง ปัจจักขามิ. คิหีติ มัง ธาเรถะ” (ว่า ๓ ครั้ง) แปลว่า “กระผมลาสิกขา, ขอท่านทั้งหลายจงทรงจำกระผมไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์” (คิหีติ ออกเสียงเป็น คิฮีติ)
  5. ประดิษฐ์ : ตั้งขึ้น, จัดทำขึ้น, สร้างขึ้น, คิดทำขึ้น
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ตั้งฉายา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งฉายา, more than 5 found, display 1-5
  1. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  2. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  3. ฉายาภมฺภ : (ปุ.) หลักวัดเงาแดด, นาฬิกาแดด.
  4. ฉายามาน : นป. การนับหรือการวัดเงา, การนับเวลา
  5. ฉายารูป : นป. รูปภาพ, รูปถ่าย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งฉายา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตั้งฉายา, more than 5 found, display 1-5
  1. เงา : ฉายา
  2. ตั้งครรภ์ : ตสฺสา คพฺโภ ปตฺฏฺฐาสิ
  3. ตั้งตน : ฐเปติ
  4. ตั้งมั่น : ปติฏฺฐาสิ
  5. ตั้งสำนัก : ปฏิวสติ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตั้งฉายา, more results...

(0.3471 sec)