ตุว, ตฺว : ส. (ปฐ. เอก) ท่าน, เธอ
เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
ตุวิ : อิต. ฟัก, น้ำเต้า
สานฺตว : (วิ.) เกลี้ยกล่อม, ปลอบโยน, เล้าโลม.
อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
ปทาตฺเว : อ. เพื่อจะให้; ในคาถาแห่งอภิณหชาตก แปลว่าเพื่อถือเอา (ป+ อา + ทา + ตฺเว)