Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ต้วมเตี้ยม .

Eng-Thai Lexitron Dict : ต้วมเตี้ยม, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ต้วมเตี้ยม, 6 found, display 1-6
  1. ต้วมเตี้ยม : (ADV) ; awkwardly ; Related:slowly, tardily, leisurely, unhurriedly ; Syn:เชื่องช้า, อืดอาด, ยืดยาด ; Ant:รวดเร็ว, ว่องไว ; Def:อย่างช้าๆ ค่อยๆ เคลื่อนไหว ; Samp:คนอ้วนมักจะทำอะไรต้วมเตี้ยมไม่ทันใจ
  2. ต้วมเตี้ยม : (V) ; toddle ; Related:be tardy, take short, wobble, waddle ; Ant:รวดเร็ว, ว่องไว ; Def:อาการที่ค่อยๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ ; Samp:หนอนแก้วต้วมเตี้ยมอยู่บนใบไม้ดูเป็นสีเดียวกัน
  3. กระด้วมกระเดี้ยม : (V) ; be slowly ; Related:be leisurely, be inactively ; Syn:ต้วมเตี้ยม ; Ant:คล่องแคล่ว, ว่องไว ; Def:ไม่คล่องแคล่ว ; Samp:สาวสมัยโบราณมักจะกระด้วมกระเดี้ยม
  4. ดั้วเดี้ย : (ADV) ; slowly ; Related:sluggishly, inactively ; Syn:ต้วมเตี้ยม, ช้าๆ ; Def:เคลื่อนไปทีละน้อยๆ ; Samp:หนอนไต่ดั้วเดี้ย
  5. กระต้วมกระเตี้ยม : (ADV) ; inactively ; Related:dawdlingly, clumsily, slowly, creepingly ; Syn:กะต้วมกะเตี้ยม, ต้วมเตี้ยม ; Samp:เขาเดินกระต้วมกระเตี้ยมอย่างกับตัวหนอน
  6. คลุกคลาน : (V) ; crawl ; Related:creep, slither ; Syn:ล้มลุกคลุกคลาน ; Def:คลานต้วมเตี้ยม ตั้งตัวไม่ติด ; Samp:เขาคลุกคลานเข้ามาขอโทษผมอย่างน่าสงสาร

Royal Institute Thai-Thai Dict : ต้วมเตี้ยม, 2 found, display 1-2
  1. ต้วมเตี้ยม : ว. อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กริยาเดินหรือ คลาน), กระต้วมกระเตี้ยม ก็ว่า.
  2. กระต้วมกระเตี้ยม : ว. อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กิริยาเดินหรือคลาน), ต้วมเตี้ยม ก็ว่า, ใช้ว่า กระด้วมกระเดี้ยม ก็มี.

Budhism Thai-Thai Dict : ต้วมเตี้ยม, 1 found, display 1-1
  1. วาสนา : อาการกายวาจา ที่เป็นลักษณะพิเศษของบุคคล ซึ่งเกิดจากกิเลสบางอย่าง และได้สั่งสมอบรมมาเป็นเวลานานจนเคยชินติดเป็นพื้นประจำตัว แม้จะละกิเลสนั้นได้แล้ว แต่ก็อาจจะละอาการกายวาจาที่เคยชินไม่ได้ เช่น คำพูดติดปาก อาการเดินที่เร็ว หรือเดินต้วมเตี้ยม เป็นต้น ท่านขยายความว่า วาสนา ที่เป็นกุศล ก็มี เป็นอกุศล ก็มี เป็นอัพยากฤต คือ เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ก็มี ที่เป็นกุศลกับอัพยากฤตนั้น ไม่ต้องละ แต่ที่เป็นอกุศลซึ่งควรจะละนั้น แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่จะเป็นเหตุให้เกิดอาการแสดงออกทางกายวาจาแปลกๆ ต่างๆ ส่วนแรก พระอรหันต์ทุกองค์ละได้ พระอรหันต์อื่นละไม่ได้ จึงมีคำกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเท่านั้นละกิเลสทั้งหมดได้ พร้อมทั้งวาสนา; ในภาษาไทย คำว่า วาสนา มีความหมายเพี้ยนไป กลายเป็นอำนาจบุญเก่า หรือกุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ

ETipitaka Pali-Thai Dict : ต้วมเตี้ยม, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ต้วมเตี้ยม, not found

(0.0256 sec)