ติตฺถายตน : (นปุ.) ลัทธิแห่งเดียรถีย์.
เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
มค : (ปุ.) เนื้อ, กวาง, จามจุรี. วิ. มคยติ อิโต จิโต โคจรํ ปริเยสตีติ มโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. มคฺคียติ ชีวิกํ กปฺปนตฺถาย มํสาทีหิ อตฺถิเกหิ ลุทฺเทหิ อเนฺวสตีติ วา มโค. มรฺ ปาณจาเค วา, อ, รสฺส โค.
ยทตฺถ : (วิ.) เพื่อประโยชน์แก่สิ่งใด วิ. ยสฺส อตฺถาย ยทตฺโถ ยทตฺถา วา ยทตฺถํ วา. ย+อตฺถ ทฺ อาคม จ. ตัป.
สาริก : (ปุ.) ต้นไม้, รัง, ต้นรัง, ต้นสาละ. วิ. สาหิ เภสชฺชาจริเยหิ นานาโรคสฺส ติกิจฺฉนตฺถาย ลายเตติ สาโล. สาสทฺโท อาจริเย, ลา อาทาเน, อ. เป็น สาฬ บ้าง. ส. สาล.
อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
อูหทติ : ก. ปล่อยออก, ถ่าย, ชำระ, ถ่ายอุจจาระรด