Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทส , then ทศ, ทษ, ทส .

Eng-Thai Lexitron Dict : ทส, 3 found, display 1-3
  1. fourth : (ADJ) ; ที่สี่ ; Related:ลำดับที่สี่
  2. infuse : (VT) ; แช่ ; Related:ใส่, เทใส่ ; Syn:instill
  3. decathlon : (N) ; การแข่งขันกรีฑา 10 ประเภท ; Related:ทศกรีฑา

Thai-Eng Lexitron Dict : ทส, more than 7 found, display 1-7
  1. ทส. : (N) ; aide-de-camp ; Syn:นายทหารคนสนิท
  2. ทศ : (N) ; ten ; Syn:สิบ ; Def:สิบ (มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส)
  3. ที่สี่ : (N) ; fourth ; Syn:ลำดับที่สี่
  4. ทศกัณฐ์ : (N) ; Ravana ; Syn:ทศมุข, ทศเศียร, ทศพักตร์, ทศกัณธร, ทศครีพ, ท้าวราพณะ ; Def:ผู้มีสิบคอ ; Samp:รามเกียรติ์เป็นเรื่องของการสู้รบระหว่างพระรามกับทศกัณฐ์ ; Unit:องค์, ตน
  5. ทศพิธราชธรรม : (N) ; virtues of the king ; Def:จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินควรประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี 10 ประการ คือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะ มัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสา ขันติ อวิโรธนะ ; Samp:พระเจ้าอยู่หัวทรงเปี่ยมด้วยทศพิธราชธรรมอย่างสมบูรณ์ ; Unit:ประการ, ข้อ
  6. เทคโนโลยีการเกษตรบัณฑิต : (N) ; Bachelor of Agricultural Technology ; Related:B.Ag. Tech ; Syn:ทษ.บ.
  7. เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต : (N) ; Master of Agricultural Technology ; Related:M.Ag. Tech ; Syn:ทษ.ม.
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ทส, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ทส, more than 5 found, display 1-5
  1. ทศ ๑, ทศ- : [ทด, ทดสะ-] น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่า เท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. ว. สิบ, มักใช้เป็น ส่วนหน้าสมาส.
  2. ทศ ๒, ทศา : [ทด, ทะสา] (แบบ) น. ชายผ้า, ชายครุย. (ส.).
  3. ทร- : [ทอระ-] คําอุปสรรค แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลําบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทรชน ทรลักษณ์ ทรพล. (ป. ทุ, ทุรฺ; ส. ทุสฺ).
  4. ทุ ๑ : ว. คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลําบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทําได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า ปัญญาทราม เป็นต้น. (ดู ทุร ประกอบ). (ป., ส. เดิม เป็น ทุสฺ), ทุ นี้เมื่ออยู่หน้าคําอื่นตามหลักไวยากรณ์ภาษาบาลีและ สันสกฤต กําหนดให้เติมตัวสะกดลงตัวหนึ่งเพื่อให้เท่าของเดิม เช่น ทุ + คติ เป็น ทุคคติ, ทุ + จริต เป็น ทุจจริต, ตัวสะกดนั้นดูพยัญชนะ คําหลังเป็นเกณฑ์ ถ้าพยัญชนะวรรคคําหลังเป็นอักษรสูงหรืออักษร กลางก็ใช้พยัญชนะที่ ๑ แห่งวรรคนั้นสะกด เช่น ทุ + กร เป็น ทุกกร, ทุ + ข เป็น ทุกข, ถ้าเป็นพยัญชนะวรรคคำหลังเป็นอักษรต่ำ ก็ใช้พยัญชนะที่ ๓ แห่งวรรคนั้นสะกด เช่น ทุ + คติ เป็น ทุคคติ, ทุ + ภาษิต เป็น ทุพภาษิต, อีกอย่างหนึ่งว่า ถ้าพยัญชนะคําหลังเป็น อักษรตํ่า ก็ใช้เติม ร แทนตัวสะกดได้ทุกวรรค เช่น ทุรชน ทุรพล ทุรภิกษ์ ทุรยศ ทุรลักษณ์, หรือเอาสระ อุ ออกเสียก็มี เช่น ทรชน ทรพล ทรพิษ ทรยศ ทรลักษณ์, ในวิธีหลังนี้บางมติว่า เอา อุ เป็น ร (ใช้ไปถึงคํา ทรกรรม ด้วย) และเมื่ออยู่หน้าสระก็เติม ร เช่น ทุ + อาจาร เป็น ทุราจาร, ทุ + อาธวา เป็น ทุราธวา.
  5. ทศกัณฐ์ : น. ''ผู้มีสิบคอ'' คือ ท้าวราพณ์ในเรื่องรามเกียรติ์.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ทส, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ทส, 8 found, display 1-8
  1. ทสพลญาณ : พระญาณเป็นกำลังของพระพุทธเจ้า ๑๐ ประการ เรียกตามบาลีว่า ตถาคตพลญาณ (ญาณเป็นกำลังของพระตถาคต) ๑๐ คือ ๑.ฐานาฐานญาณ ๒.กรรมวิปากญาณ ๓.สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ ๔.นานาธาตุญาณ ๕.นานาธิมุตติกญาณ ๖.อินทริยปโรปริยัตตญาณ ๗.ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ ๙.จุตูปปาตญาณ ๑๐.อาสวักขยญาณ; นิยมเขียน ทศพลญาณ; ดู ญาณ ชื่อนั้นๆ
  2. ทศพลญาณ : ดู ทสพลญาณ
  3. ทศวรรค : สงฆ์มีพวก ๑๐ คือ สงฆ์พวกที่กำหนดจำนวน ๑๐ รูปเป็นอย่างน้อย จึงจะครบองค์ ทำสังฆกรรมประเภทนั้นๆ ได้ เช่น การอุปสมบทในมัธยมประเทศ ต้องใช้สงฆ์ทศวรรค
  4. ทศพิธราชธรรม : ดู ราชธรรม
  5. ถ้วนทศมาศ : ครบ ๑๐ เดือน
  6. ราชธรรม : ธรรมสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน, คุณสมบัติของนักปกครองที่ดี สามารถปกครองแผ่นดินโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดี มี ๑๐ ประการ (นิยมเรียกว่า ทศพิธราชธรรม) คือ ๑.ทาน การให้ทรัพย์สินสิ่งของ ๒.ศีล ประพฤติดีงาม ๓.ปริจจาคะ ความเสียสละ ๔.อาชชวะ ความซื่อตรง ๕.มัททวะ ความอ่อนโยน ๖.ตบะ ความทรงเผากิเลสตัณหา ไม่หมกมุ่นในความสุขสำราญ ๗.อักโกธะ ความไม่กริ้วโกรธ ๘.อวิหิงสา ความไม่ข่มเหงเบียดเบียน ๙.ขันติ ความอดทนเข็มแข็งไม่ท้อถอย ๑๐.อวิโรธนะ ความไม่คลาดธรรม
  7. รามายณะ : เรื่องราวของพระราม ว่าด้วยเรื่องศึกระหว่างพระรามกับทศกัณฐ์ พระฤษีวาลมีกิเป็นผู้แต่ง ไทยเรียกรามเกียรติ์
  8. สงฆ์ : หมู่, ชุมนุม ๑.หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า เรียกว่า สาวกสงฆ์ ดังคำสวดในสังฆคุณ ประกอบด้วยคู่บุรุษ ๔ บุรุษบุคคล ๘ เริ่มแต่ท่านผู้ตั้งอยู่ใน โสดาปัตติมรรค จนถึงพระอรหันต์ ต่างจาก ภิกขุสงฆ์ คือ หมู่แห่งภิกษุหรือชุมนุมภิกษุ (ดูความหมาย ๒), ต่อมา บางทีเรียกอย่างแรกว่า อริยสงฆ์ อย่างหลังว่า สมมติสงฆ์ ๒.ชุมนุมภิกษุหมู่หนึ่งตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป ซึ่งสามารถประกอบสังฆกรรมได้ตามกำหนดทางพระวินัย ต่างโดยเป็นสงฆ์จตุรวรรคบ้าง ปัญจวรรคบ้าง ทศวรรคบ้าง วีสติวรรคบ้าง

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทส, more than 5 found, display 1-5
  1. ทส : (ไตรลิงค์) สิบ. ส. ทศน.
  2. ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
  3. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  4. ทสสหสฺส : (นปุ.) พันสิบ, พันสิบหน, สิบพัน, หมื่น. วิ. สหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสหสฺสํ.
  5. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ทส, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทส, 1 found, display 1-1
  1. ฟัน : ทนฺโต, ทฺวิโช, ลปนโช, ทสโน, รทโน, รโท

(0.1409 sec)