Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทสา , then ทศา, ทส, ทสา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ทสา, 2 found, display 1-2
  1. fourth : (ADJ) ; ที่สี่ ; Related:ลำดับที่สี่
  2. infuse : (VT) ; แช่ ; Related:ใส่, เทใส่ ; Syn:instill

Thai-Eng Lexitron Dict : ทสา, 2 found, display 1-2
  1. ทส. : (N) ; aide-de-camp ; Syn:นายทหารคนสนิท
  2. ที่สี่ : (N) ; fourth ; Syn:ลำดับที่สี่

Royal Institute Thai-Thai Dict : ทสา, 4 found, display 1-4
  1. ทสา : [ทะ-] (แบบ) น. ชายผ้า, ชายครุย. (ป.).
  2. ทศ ๒, ทศา : [ทด, ทะสา] (แบบ) น. ชายผ้า, ชายครุย. (ส.).
  3. ทร- : [ทอระ-] คําอุปสรรค แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลําบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทรชน ทรลักษณ์ ทรพล. (ป. ทุ, ทุรฺ; ส. ทุสฺ).
  4. ทุ ๑ : ว. คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลําบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทําได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า ปัญญาทราม เป็นต้น. (ดู ทุร ประกอบ). (ป., ส. เดิม เป็น ทุสฺ), ทุ นี้เมื่ออยู่หน้าคําอื่นตามหลักไวยากรณ์ภาษาบาลีและ สันสกฤต กําหนดให้เติมตัวสะกดลงตัวหนึ่งเพื่อให้เท่าของเดิม เช่น ทุ + คติ เป็น ทุคคติ, ทุ + จริต เป็น ทุจจริต, ตัวสะกดนั้นดูพยัญชนะ คําหลังเป็นเกณฑ์ ถ้าพยัญชนะวรรคคําหลังเป็นอักษรสูงหรืออักษร กลางก็ใช้พยัญชนะที่ ๑ แห่งวรรคนั้นสะกด เช่น ทุ + กร เป็น ทุกกร, ทุ + ข เป็น ทุกข, ถ้าเป็นพยัญชนะวรรคคำหลังเป็นอักษรต่ำ ก็ใช้พยัญชนะที่ ๓ แห่งวรรคนั้นสะกด เช่น ทุ + คติ เป็น ทุคคติ, ทุ + ภาษิต เป็น ทุพภาษิต, อีกอย่างหนึ่งว่า ถ้าพยัญชนะคําหลังเป็น อักษรตํ่า ก็ใช้เติม ร แทนตัวสะกดได้ทุกวรรค เช่น ทุรชน ทุรพล ทุรภิกษ์ ทุรยศ ทุรลักษณ์, หรือเอาสระ อุ ออกเสียก็มี เช่น ทรชน ทรพล ทรพิษ ทรยศ ทรลักษณ์, ในวิธีหลังนี้บางมติว่า เอา อุ เป็น ร (ใช้ไปถึงคํา ทรกรรม ด้วย) และเมื่ออยู่หน้าสระก็เติม ร เช่น ทุ + อาจาร เป็น ทุราจาร, ทุ + อาธวา เป็น ทุราธวา.

Budhism Thai-Thai Dict : ทสา, 2 found, display 1-2
  1. ทสพลญาณ : พระญาณเป็นกำลังของพระพุทธเจ้า ๑๐ ประการ เรียกตามบาลีว่า ตถาคตพลญาณ (ญาณเป็นกำลังของพระตถาคต) ๑๐ คือ ๑.ฐานาฐานญาณ ๒.กรรมวิปากญาณ ๓.สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ ๔.นานาธาตุญาณ ๕.นานาธิมุตติกญาณ ๖.อินทริยปโรปริยัตตญาณ ๗.ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ ๙.จุตูปปาตญาณ ๑๐.อาสวักขยญาณ; นิยมเขียน ทศพลญาณ; ดู ญาณ ชื่อนั้นๆ
  2. ทศพลญาณ : ดู ทสพลญาณ

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทสา, more than 5 found, display 1-5
  1. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  2. ติทสาลย : (ปุ.) ติทสาลยะ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, วิ, ติทสานํ เทวานํ อาลโย ฐานํ ติทสาลโย.
  3. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  4. ฉนฺทสา : อิต. วิธีแต่งฉันท์
  5. ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ทสา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทสา, 3 found, display 1-3
  1. ชายผ้า : ทสา, วตฺถทสา
  2. ทิศ : ทิสา
  3. ฟัน : ทนฺโต, ทฺวิโช, ลปนโช, ทสโน, รทโน, รโท

(0.1304 sec)