ปฏิสันถาร : การทักทายปราศรัย, การต้อนรับแขก มี ๒ อย่างคือ ๑.อามิสปฏิสันถาร ต้อนรับด้วยธรรม คือ กล่าวแนะนำในทางธรรม อีกนัยหนึ่งว่า ต้อนรับโดยธรรม คือ การต้อนรับที่ทำพอดีสมควรแก่ฐานะของแขก มีการลุกรับเป็นต้น หรือช่วยเหลือสงเคราะห์ขจัดปัญหาข้อติดขัด ทำกุศลกิจให้ลุล่วง
วาชเปยะ : “วาจาดูดดื่มใจ”, “น้ำคำควรดื่ม”, ความรู้จักพูด รู้จักทักทายปราศรัย มีถ้อยคำสุภาพนุ่มนวล ประกอบด้วยเหตุผลมีประโยชน์ เป็นทางแห่งสามัคคี ทำให้เกิดความเข้าใจอันดี ความเชื่อถือและความนิยมนับถือ (ข้อ ๔ ในราชสังคหวัตถุ ๔)
วาชไปยะ : “วาจาดูดดื่มใจ”, “น้ำคำควรดื่ม”, ความรู้จักพูด รู้จักทักทายปราศรัย มีถ้อยคำสุภาพนุ่มนวล ประกอบด้วยเหตุผลมีประโยชน์ เป็นทางแห่งสามัคคี ทำให้เกิดความเข้าใจอันดี ความเชื่อถือและความนิยมนับถือ (ข้อ ๔ ในราชสังคหวัตถุ ๔)
สัมโมทนียกถา : “ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ”, คำต้อนรับทักทาย, คำปราศรัย; ปัจจุบันนิยมเรียกสุนทรพจน์ที่พระสงฆ์กล่าวว่า สัมโมทนียกถา
อาวุโส : ผู้มีอายุ” เป็นคำเรียก หรือทักทาย ที่ภิกษุผู้แก่พรรษาใช้ร้องเรียกภิกษุผู้อ่อนพรรษากว่า (ภิกษุผู้ใหญ่ร้องเรียกภิกษุผู้น้อย) หรือภิกษุร้องเรียกคฤหัสถ์ คู่กับคำ ภนฺเต ซึ่งภิกษุผู้อ่อนกว่าใช้ร้องเรียกภิกษุผู้แก่กว่าหรือคฤหัสถ์ร้องเรียกภิกษุ; ในภาษาไทย มักใช้เพี้ยนไปในทางตรงข้าม หมายถึง เก่ากว่า หรือแก่กว่าในวงงาน กิจการ หรือความเป็นสมาชิก
อาลปติ : ก. เรียกร้อง, ทักทาย, สนทนา
ปฏินนฺทติ : ก. ยินดีเฉพาะ, บันเทิง, ทักทายตอบ, รับด้วยความยินดี
ปฏินนฺทิต : กิต. ยินดีเฉพาะแล้ว, บันเทิงแล้ว, (อันเขา) ให้บันเทิงแล้ว, ทักทายแล้ว,ต้อนรับแล้ว
ปฏิสนฺถาร : ก. ปฏิสันถาร, การต้อนรับ, การรับรองแขก, การทักทายปราศรัย
ปฏิสมฺโมทติ, - เทติ : ก. ทักทายตอบ, ปราศรัยตอบ
ปฏิสมฺโมทน : นป. การทักทายปราศรัยตอบ
อาลปนตา : อิต. การร้องเรียก, การทักทาย
อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.