Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทิวา , then ทวา, ทิพา, ทิว, ทิวะ, ทิวา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ทิวา, 6 found, display 1-6
  1. bank 2 : (N) ; ทิวยาว ; Related:เทือก, แถว, แนว
  2. range : (N) ; ทิวเขา ; Related:แนวเขา, เทือกเขา ; Syn:row of mountains
  3. spur : (N) ; ทิวเขาที่ยื่นแหลมออกมา ; Syn:ridge
  4. row 1 : (N) ; แถว ; Related:แผง, ทิว, แนว ; Syn:column, line
  5. Matthew : (N) ; แมททิว (ชื่อของผู้ชาย) ; Syn:Matt
  6. tulip : (N) ; ไม้ดอกทิวลิป

Thai-Eng Lexitron Dict : ทิวา, more than 7 found, display 1-7
  1. ทิวา : (N) ; day ; Related:daytime ; Syn:ทิวากาล, วัน, กลางวัน, เวลากลางวัน ; Samp:ทิวาใกล้จะผ่านพ้นไปแล้ว
  2. ทิวากาล : (N) ; daytime ; Related:day ; Syn:เวลากลางวัน
  3. ทิว : (N) ; row ; Related:line ; Syn:แถว, แนว ; Def:แถวหรือแนวแห่งสิ่งที่ติดเนื่องกันไปยาวยืด ; Samp:เสี่ยปอมีลูกน้องตามมาเป็นทิว
  4. ทิวเขา : (N) ; mountain range ; Def:แนวสันเขาที่ติดต่อกันเป็นพืดไป ; Samp:ทิวเขาบรรทัดเป็นทิวเขาที่กั้นเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ; Unit:ทิว
  5. ทิวไม้ : (N) ; line of trees ; Related:row of trees, distant stretch of trees ; Def:แถวต้นไม้ที่เห็นไกลๆ ; Samp:แสงอาทิตย์ฉายขึ้นทางทิวไม้ด้านทิศตะวันออก สว่างไสวไปทั่วทุ่ง ; Unit:ทิว, แถว
  6. ทวาราวดี : (N) ; Dhavaravati Kingdom ; Syn:อาณาจักรทวาราวดี ; Def:ชื่อนครอโยธยา เป็นอาณาจักรโบราณ เริ่มตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 11 หรือ 12-16 ; Samp:เมื่อราวพันปีที่ร่วงมานี้ เขมรขยายอาณาเขตเข้ามาในอาณาจักรทวาราวดี
  7. Thai-Eng Lexitron Dict : ทิวา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ทิวา, more than 5 found, display 1-5
  1. ทิวา : (แบบ) น. วัน. (ป., ส.).
  2. ทิว- ๓, ทิวะ : [ทิวะ-] น. วัน; สวรรค์, ชั้นฟ้า, เทวโลก, เช่น ทิวงคต คือ ไปสู่ เทวโลก หมายถึง ตาย. (ป., ส.).
  3. ทิวากาล : น. เวลากลางวัน.
  4. ทวา : [ทะวา] (แบบ) ว. สอง. (ป., ส. ทฺวา).
  5. ทิพา : (แบบ) น. วัน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ทิวา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ทิวา, 5 found, display 1-5
  1. ทิวาวิหาร : การพักผ่อนในเวลากลางวัน
  2. ปิณโฑล ภารทวาชะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร ในพระนครราชคฤห์ เรียนจบไตรเพท ออกบวชในพระพุทธศาสนา ได้สำเร็จพระอรหัต เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสติ สมาธิ ปัญญา มักเปล่งวาจาว่า “ผู้ใดมีความเคลือบแคลงสงสัยในมรรคก็ดี ผลก็ดี ขอผู้นั้นจงมาถามข้าพเจ้าเถิด” พระศาสดาทรงยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะในทางบันลือสีหนาท
  3. ภารทวาชโคตร : ตระกูลภารทวารชะ เป็นตระกูลพราหมณ์เก่าแก่ ปรากฏตั้งแต่สมัยร้อยกรองพระเวท แต่ในพุทธกาลปรากฏตามคัมภีร์วินัยปิฎก ว่าเป็นตระกูลต่ำ
  4. อสีติมหาสาวก : พระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ องค์ บางทีเรียกอนุพุทธ ๘๐ องค์ มีรายนามตามลำดับอักษร ดังนี้ (ที่พิมพ์ตัว เอน คือท่านที่เป็นเอตทัคคะด้วย): กังขาเรวต, กัปป, กาฬุทายี, กิมพิล, กุมารกัสสป, กุณฑธาน, คยากัสสป, ควัมปติ, จุนท, จูฬปันถก, ชตุกัณณิ, ติสสเมตเตยย, โตเทยย, ทัพพมัลลบุตร, โธตก, นทีกัสสป, นันท, นันทก, นันทก, นาคิต, นาลก, ปิงคิย, ปิณโฑลภารทวาช, ปิลินทวัจฉ, ปุณณก, ปุณณชิ, ปุณณมันตานีบุตร, ปุณณสุนาปรันต, โปสาล, พาลุกะ (พักกุละ ก็เรียก), พาหิย ทารุนีริย, ภคุ, ภัททิย (ศากยะ), ภัททิย, ภัทราวุธ, มหากัจจายน, มหากัปปิน, มหากัสสป, มหาโกฏฐิต, มหานาม, มหาปันถก, มหาโมคคัลลาน, เมฆิย, เมตตคู, โมฆราช, ยส, ยโสช, รัฏฐปาล, ราธ, ราหุล, เรวตขทิรวนิย, ลกุณฏกภัททิย, วักกลิ, วังคีส, วัปป, วิมล, สภิย, สาคต, สารีบุตร, สีวลี, สุพาหุ, สุภูติ, เสล, โสณกุฏิกัณณ, โสณโกฬิวิส, โสภิต, เหมก, องคุลิมาล, อชิต, อนุรุทธ, อัญญาโกณทัญญ, อัสสชิ, อานนท, อุทย, อุทายี, อุบาลี, อุปวาณ, อุปสีว, อุปเสนวังคันตบุตร, อุรุเวลกัสสป
  5. อัคคัญญสูตร : ชื่อสูตรที่ ๔ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก ทรงแสดงแก่สามเณรวาเสฏฐะ และสามเณรภารัทวาชะ ผู้ออกบวชจากตระกูลพราหมณ์ ทรงคัดค้านคำกล่าวอ้างของพวกพราหมณ์ ที่ถือว่าพราหมณ์เป็นวรรณะประเสริฐที่สุด และถือว่าชาติกำเนิดเป็นเครื่องตัดสินความประเสริฐ และความต่ำทรามของมนุษย์ ทรงแสดงให้เห็นว่าความประเสริฐหรือต่ำทรามนั้นอยู่ที่ความประพฤติ โดยมีธรรมเป็นเครื่องตัดสิน คนวรรณะต่างๆ ออกบวชในพระพุทธศาสนาแล้ว ย่อมชื่อว่าเป็นผู้เกิดจากธรรมเสมอกันหมด แล้วทรงแสดงความเป็นมาของสังคมมนุษย์ เริ่มแต่เกิดมีสัตว์ขึ้นในโลกแล้วเปลี่ยนแปลงตามลำดับ จนเกิดมีมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นพวก เกิดความจำเป็นต้องมีการปกครอง และมีการประกอบอาชีพ การงานต่างๆ กัน วรรณะทั้ง ๔ ก็เกิดจากความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ มิใช่เป็นเรื่องของพรหมสร้างสรรค์ แต่เกิดจากธรรม (ธรรมดา, กฎธรรมชาติ) ทุกวรรณะประพฤติชั่วก็ไปอบายได้ ปฏิบัติธรรมก็บรรลุนิพพานได้ ธรรมเป็นเครื่องตัดสิน และธรรมเป็นของประเสริฐสูงสุด ผู้ที่สิ้นอาสวกิเลสแล้ว เป็นผู้ประเสริฐสุดในวรรณะทั้ง ๔ ผู้ที่สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุดในบรรดาเทวะ และมนุษย์ทั้งปวง

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทิวา, more than 5 found, display 1-5
  1. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  2. ทิวาสญฺญา : อิต. ทิวาสัญญา, ความสำคัญหมายว่ากลางวัน
  3. ทิวาฎฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่อยู่ในเวลากลางวัน.
  4. ทิวาฏฺฐาน : นป. ที่พักในเวลากลางวัน
  5. ทิวาทิวสฺส : อ. แต่ยังวัน, ทั้งยังวันๆ อยู่
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ทิวา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทิวา, 9 found, display 1-9
  1. กลางวัน : ทิวา
  2. วัน : ทิวา, ทิวโส, ทินํ, ทิวสํ, อหํ
  3. ดวงอาทิตย์ : อาทิจฺโจ, สุริโย, ทิวากโร, ทินกโร, ภาณุ [ปุ.]
  4. ทุกวัน : ทิวเส ทิวเส, ทิเน ทิเน
  5. คนบ้านนอก : ชนปทวาสี, ชานปทา
  6. จันทร์ (วัน) : จนฺทวาโร, สสิวาโร
  7. แตงกวา (พืช) : อินฺทวารุณี, กกฺการี [อิ.]
  8. วันจันทร์ : จนฺทวาโร, สสิวาโร
  9. วันพรุ่งนี้ : ปุเนกทิวเส

(0.1249 sec)