Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ที่แท้ , then ทท, ที่แท้ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ที่แท้, 6 found, display 1-6
  1. literal : (ADJ) ; ตามความหมายที่แท้จริงของคำ ; Syn:denotative, explicit ; Ant:figurative, metaphorical
  2. muddle through : (PHRV) ; ประสบความสำเร็จ (แบบไม่รู้วิธีทำที่แท้จริง) ; Related:ทำสำเร็จแบบมั่วๆ ; Syn:rub through
  3. nature : (N) ; ลักษณะที่แท้จริงของสิ่งต่างๆ
  4. show oneself in one's true colours : (IDM) ; เปิดเผยตัวตนที่แท้จริง ; Related:เผยสิ่งที่คิด, เผยสิ่งที่เป็นจริงๆออกมา
  5. write-down : (N) ; การลงรายการในบัญชีต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง (ทางธุรกิจ)
  6. intrinsic : (ADJ) ; เนื้อแท้ ; Related:ในเนื้อหาที่แท้จริง ; Syn:congenital, natural, real ; Ant:extrinsic

Thai-Eng Lexitron Dict : ที่แท้, more than 7 found, display 1-7
  1. ที่แท้ : (CONJ) ; in fact ; Related:actually ; Syn:ที่จริง ; Samp:เราได้ทำการวิจัยเรื่องนี้แทบเป็นแทบตาย ที่แท้มีคนอื่นเขาทำมาก่อนแล้ว และดีกว่าเสียด้วย
  2. ที่จริง : (ADV) ; actually ; Related:in fact, as a matter of fact ; Syn:ที่แท้, แท้จริง, แท้, แน่นอน ; Samp:ที่จริงสมชายเป็นคนดีกว่าที่เราคิดเอาไว้
  3. อันที่จริง : (ADV) ; in fact ; Related:as a matter of fact ; Syn:จริงๆ แล้ว, ความจริง, ที่จริง, ที่แท้ ; Def:คำที่ใช้แสดงว่าความจริงไม่ตรงกับที่รู้หรือคิดหรือกล่าวมา ; Samp:อันที่จริงฉันก็กลัวว่าผู้อ่านจะเบื่อกันซะก่อน ที่หมู่นี้ฉันมุ่งแต่เขียนถึงวิธีเสริมสวยชะลอความแก่อยู่เรื่อย ๆ
  4. การเข้ารหัส : (N) ; coding ; Syn:การใส่รหัส ; Def:การแปลงข้อมูลปกติให้อยู่ในรูปของรหัส เพื่อตั้งใจจะซ่อนความหมายที่แท้จริง ; Samp:ก่อนที่ข้อมูลจะถูกบันทึกลงสู่แผ่นดิสก์จะมีการเข้ารหัสข้อมูลเสียก่อน
  5. ใจจริง : (N) ; frankness ; Related:true feeling, sincerity, truthfulness ; Def:ใจที่แท้จริง ; Samp:เจ้าของโรงพิมพ์ต้องผลิตหนังสือที่รู้ว่าขายได้ถึงแม้ว่าใจจริงเขาอาจไม่สนใจหรือไม่ชอบ หนังสือประเภทนี้
  6. ธรรมชาติมนุษย์ : (N) ; human nature ; Def:ลักษณะที่แท้จริงและดั้งเดิมของมนุษย์
  7. ธาตุแท้ : (N) ; nature ; Related:essence, reality, substance ; Syn:เนื้อแท้, สันดานเดิม, สันดาน ; Def:อุปนิสัยใจคอที่แท้จริง ; Samp:อีกไม่นานเราทุกคนจะได้เห็นธาตุแท้ของเขา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ที่แท้, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ที่แท้, 7 found, display 1-7
  1. ทท : [ทด, ทะทะ] น. ผู้ให้, มักใช้ประกอบท้ายศัพท์ เช่น กามทท = ผู้ให้สิ่งที่น่าปรารถนา. (ป., ส.).
  2. ที่เท่าแมวดิ้นตาย : (สํา) น. ที่ดินหรือเนื้อที่เล็กน้อย. ที่แท้ สัน. ที่จริง.
  3. น้ำใสใจคอ : น. น้ำใจที่แท้จริง (มักใช้ในทางดี) เช่น เขาเป็นคนมี น้ำใสใจคอโอบอ้อมอารี.
  4. เนื้อแท้ : น. ส่วนที่แท้, ส่วนที่จริง.
  5. รา ๒ : น. ชื่อเรียกพืชชั้นตํ่าที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ และลําต้น ใบ ราก ที่แท้จริง ส่วนมากเจริญเป็นเส้นใย แบ่งเป็น ๒ พวก คือ ราเมือก และ ราแท้ สืบพันธุ์โดยสปอร์อาศัยอยู่บนซากของพืชหรือสัตว์ ขึ้นเบียนหรืออยู่ ร่วมกับพืชอื่นก็มี.
  6. สมมต, สมมติ, สมมติ, สมมุติ, สมมุติ : [สมมด, สมมด, สมมดติ, สมมุด, สมมุดติ] ก. รู้สึกนึกเอาว่า เช่น สมมติให้ตุ๊กตาเป็นน้อง. สัน. ต่างว่า, ถือเอาว่า, เช่น สมมุติว่าได้มรดก สิบล้าน จะบริจาคช่วยคนยากจน สมมุติว่าถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ จะไปเที่ยวรอบโลก. ว. ที่ยอมรับตกลงกันเองโดยปริยายโดยไม่คํานึง ถึงสภาพที่แท้จริง เช่น สมมติเทพ.
  7. รับ : ก. ยื่นมือออกถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งให้ เช่น รับของ รับเงิน, ถือเอา สิ่งของที่ผู้อื่นส่งมาให้เช่น รับจดหมาย รับพัสดุภัณฑ์, ไปพบ ณ ที่ที่ กำหนดเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพาไปสู่ที่พัก, ต้อนรับ, เช่น ฉัน ไปรับเพื่อนที่ดอนเมือง ประชาชนไปรับนายกรัฐมนตรีกลับจากต่าง ประเทศ, โดยปริยายใช้แก่นามธรรมก็ได้ เช่น รับศีล รับพร; ให้คําตอบ ที่ไม่ปฏิเสธเช่น ตอบรับ รับเชิญ, ยอมสารภาพ เช่น รับผิด; ตกลงตาม เช่น รับทํา; คล้องจอง เช่น กลอนรับสัมผัสกัน; เหมาะเจาะ, เหมาะสม, เช่น หมวกรับกับหน้า; ขานตอบ เช่น กู่เรียกแล้วไม่มีคนรับ โทรศัพท์ ไม่มีผู้รับ; ต้าน เช่น รับทัพ รับศึก; ต่อเสียงเช่น ลูกคู่ร้องรับต้นบท.

Budhism Thai-Thai Dict : ที่แท้, 7 found, display 1-7
  1. จตุธาตุววัตถาน : การกำหนดธาตุ ๔ คือ พิจารณาร่างกายนี้ แยกแยะออกไปมองเห็นแต่ส่วนประกอบต่างๆ ที่จัดเข้าไปในธาตุ ๔ คือ ปฐวี อาโป เตโช วาโย ทำให้รู้ภาวะความเป็นจริงของร่างกาย ว่าเป็นแต่เพียงธาตุ ๔ ประชุมกันเข้าเท่านั้น ไม่เป็นตัวสัตว์บุคคลที่แท้จริง
  2. ตถาคต : พระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า เป็นคำที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกหรือตรัสถึงพระองค์เอง แปลได้ความหมาย ๘ อย่าง คือ ๑.พระผู้เสด็จมาแล้วอย่างนั้น คือ เสด็จมาทรงบำเพ็ญพุทธจริยา เพื่อประโยชน์แก่ชาวโลก เป็นต้น เหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๒.พระผู้เสด็จไปแล้วอย่างนั้น คือทรงทำลายอวิชชาสละปวงกิเลสเสด็จไปเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๓.พระผู้เสด็จมาถึงตถลักษณะ คือ ทรงมีพระญาณหยั่งรู้เข้าถึงลักษณะที่แท้จริงของสิ่งทั้งหลายหรือของธรรมทุกอย่าง๔.พระผู้ตรัสรู้ตถธรรมตามที่มันเป็น คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ หรือปฏิจจสมุปบาทอันเป็นธรรมที่จริงแท้แน่นอน ๕.พระผู้ทรงเห็นอย่างนี้ คือ ทรงรู้เท่าทันสรรพอารมณ์ที่ปรากฏแก่หมู่สัตว์ทั้งเทพและมนุษย์ ซึ่งสัตวโลกตลอดถึงเทพถึงพรหมได้ประสบและพากันแสวงหา ทรงเข้าใจสภาพที่แท้จริง ๖.พระผู้ตรัสอย่างนั้น (หรือมีพระวาจาที่แท้จริง) คือ พระดำรัสทั้งปวงนับแต่ตรัสรู้จนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ล้วนเป็นสิ่งแท้จริงถูกต้อง ไม่เป็นอย่างอื่น ๗.พระผู้ทำอย่างนั้น คือ ตรัสอย่างใดทำอย่างนั้น ทำอย่างใด ตรัสอย่างนั้น ๘.พระผู้เป็นเจ้า (อภิภู) คือ ทรงเป็นผู้ใหญ่ยิ่งเหนือกว่าสรรพสัตว์ตลอดถึงพระพรหมที่สูงสุด เป็นผู้เห็นถ่องแท้ ทรงอำนาจ เป็นราชาที่พระราชาทรงบูชา เป็นเทพแห่งเทพ เป็นอินทร์เหนือพระอินทร์ เป็นพรหมเหนือประดาพรหม ไม่มีใครจะอาจวัดหรือจะทดเทียมพระองค์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัสสนะ
  3. ปรมัตถ์ : 1.ประโยชน์อย่างยิ่ง คือ พระนิพพาน 2.ความหมายสูงสุด, ความหมายที่แท้จริง เช่น ในคำว่า ปรมัตถธรรม
  4. วิปัสสนูปกิเลส : อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา, สภาพน่าชื่นชมแต่ที่แท้เป็นโทษเครื่องเศร้าหมองแห่งวิปัสสนาซึ่งเกิดแก่ผู้ได้วิปัสสนาอ่อนๆ ทำให้เข้าใจผิดว่าตนบรรลุมรรคผลแล้ว จึงไม่ดำเนินก้าวหน้าต่อไปในวิปัสสนาญาณ มี ๑๐ คือ ๑.โอภาส แสงสว่าง ๒.ปีติ ความอิ่มใจ ๓.ญาณ ความรู้ ๔.ปัสสัทธิ ความสงบกายและจิต ๕.สุข ความสบายกาย สบายจิต ๖.อธิโมกข์ ความน้อมใจเชื่อ ๗.ปัคคาหะ ความเพียรที่พอดี ๘.อุปัฏฐาน สติชัด ๙.อุเบกขา ความวางจิตเป็นกลาง ๑๐.นิกันติ ความพอใจ
  5. สัทธรรม : ธรรมที่ดี, ธรรมที่แท้, ธรรมของคนดี, ธรรมของสัตบุรุษมี ๓ อย่าง คือ ๑.ปริยัติสัทธรรม สัทธรรมคือสิ่งที่พึงเล่าเรียน ได้แก่ พุทธพจน์ ๒.ปฏิบัติสัทธรรม สัทธรรมคือสิ่งพึงปฏิบัติได้แก่ไตรสิกขา ๓.ปฏิเวธสัทธรรม สัทธรรมคือผลที่พึงบรรลุ ได้แก่ มรรคผล และนิพพาน; สัทธรรม ๗ คือ ๑.ศรัทธา ๒.หิริ ๓.โอตตัปปะ ๔.พาหุสัจจะ ๕.วิริยารัมภะ ๖.สติ ๗.ปัญญา
  6. สารันทเจดีย์ : เจดียสถานแห่งหนึ่งที่เมืองเวสาลี นครหลวงของแคว้นวัชชี ณ ที่นี้พระพุทธเจ้าเคยทำนิมิตตโอภาสแก่พระอานนท์ บาลีเป็น สารันททเจดีย์
  7. สุภัททะ : ปัจฉิมสิกขิสาวก (สาวกผู้ทันเห็นองค์สุดท้าย) ของพระพุทธเจ้า เรียกสั้นๆ ว่า ปัจฉิมสาวก เดิมเป็นพราหมณ์ตระกูลใหญ่ ต่อมาออกบวชเป็นปริพาชก อยู่ในเมืองกุสินารา ในวันที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน สุภัททปริพาชกได้ยินข่าวแล้วคิดว่าตนมีข้อสงสัยอยู่อย่างหนึ่ง อยากจะขอให้พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพื่อแก้ข้อสงสัยนั้นเสียก่อนที่จะปรินิพพาน จึงเดินทางไปยังสาลวัน ตรงไปหาพระอานนท์ แจ้งความประสงค์ขอเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา พระอานนท์ได้ห้ามไว้ เพราะเกรงว่าพระองค์เหน็ดเหนื่อยอยู่แล้ว จะเป็นการรบกวนให้ทรงลำบาก สุภัททปริพาชกก็คะยั้นคะยอจะขอเข้าเฝ้าให้ได้ พระอานนท์ก็ยืนกรานห้ามอยู่ถึง ๓ วาระ จนพระผู้มีพระภาคทรงได้ยินเสียงโต้ตอบกันนั้น จึงตรัสสั่งพระอานนท์ว่าสุภัททะมุ่งหาความรู้ มิใช่ประสงค์จะเบียดเบียนพระองค์ ขอให้ปล่อยให้เขาเข้าเฝ้าเถิด สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้าแล้ว ทูลถามว่า สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิที่มีชื่อเสียงทั้งหลาย คือ เหล่าครูทั้ง ๖ นั้น ล้วนได้ตรัสรู้จริงทั้งหมดตามที่ตนปฏิญญา หรือได้ตรัสรู้เพียงบางท่านหรือไม่มีใครตรัสรู้จริงเลย พระพุทธเจ้าทรงห้ามเสียและตรัสว่าจะทรงแสดงธรรม คือ หลักการหรือหลักความจริงให้ฟัง แล้วตรัสว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ หาไม่ได้ในธรรมวินัยใด สมณะ (คืออริยบุคคลทั้ง ๔) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยใด สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะทั้ง ๔ จึงมีในธรรมวินัยนี้ ลัทธิอื่นๆ ว่างจากสมณะ และตรัสสรุปว่า ถ้าภิกษุทั้งหลายเป็นอยู่โดยชอบ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย เมื่อจบพระธรรมเทศนา สุภัททปริพาชกเลื่อมใสทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธเจ้าตรัสสั่งพระอานนท์ให้บวชสุภัททะในสำนักของพระองค์ โดยประทานพุทธานุญาตพิเศษให้ยกเว้นไม่ต้องอยู่ติตถิยปริวาส ท่านสุภัททะบวชแล้วไม่นาน (อรรถกถาว่าในวันนั้นเอง) ก็ได้บรรลุอรหัตตผล นับเป็นพุทธปัจฉิมสักขิสาวก

ETipitaka Pali-Thai Dict : ที่แท้, more than 5 found, display 1-5
  1. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  2. ทท : (ปุ.) การให้, บุคคลผู้ให้. ทา ทาเน, อ. เท๎วภาวะ ทา รัสสะ อา ทั้งสอง หรือตั้ง ทท.
  3. อนตฺต : (วิ.) มีตนหามิได้, ไม่มีตน, ไม่มีตัวตน, มิใช่ตน, มิใช่ตัวตน, บังคับมิได้, บังคับไม่ได้, อนัตตา (ไม่อยู่ในอำนาจของเรา ไม่มีเจ้าของที่แท้จริง).น+อตฺต.
  4. กามท, - ทท : ค. ซึ่งให้สิ่งที่น่าปรารถนา
  5. จกฺขุท, - ทท : ค. ผู้ให้จักษุ, ผู้ให้ปัญญาจักษุ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ที่แท้, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ที่แท้, not found

(0.1280 sec)