Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นวก , then นวก, นวกะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : นวก, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : นวก, not found

Royal Institute Thai-Thai Dict : นวก, 9 found, display 1-9
  1. นวก ๑, นวก : [นะวะกะ] น. ผู้ใหม่, ผู้อ่อน. (ป.). ว. ใหม่, อ่อน, เช่น พระนวกนวกภูมิ.
  2. นวก : [นะวะกะ] น. หมวด ๙ หมายความว่า วัตถุอันมีจํานวน ๙ ทุกอย่าง เช่น รัตนะ ๙ คําสอนของพระศาสดา ๙ พุทธคุณ ๙ เอามารวมไว้ใน หมวดนั้น เรียกว่า นวก เช่น นวกนิบาต. (ป.).
  3. นวกภูมิ : [นะวะกะพูม] น. ขั้นหรือชั้นแห่งผู้ใหม่, ในคณะสงฆ์หมายถึง ภิกษุที่มีพรรษาต่ำกว่า ๕, ภิกษุจัดเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่), ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙, และ ชั้นสูง คือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป. (ป.).
  4. นวโกวาท : ดู นวกนวกะ.
  5. นพกะ : [นบพะ] น. ผู้ใหม่. (ป. นวก).
  6. เถรภูมิ : [เถระพูม] น. ขั้นหรือชั้นแห่งพระเถระ, ทางคณะสงฆ์จัดภิกษุ เป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาตํ่ากว่า ๕ ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ (ชั้นกลาง) มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ และชั้นสุดคือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป.
  7. นวก : [ผะหฺนวก] ก. เพิ่มเข้า, บวกเข้า, เช่น ผนวกดินแดน.
  8. มัชฌิมภูมิ : [-พูม] น. ภูมิหรือชั้นของคนชั้นกลาง, ในคณะสงฆ์ หมายถึงภิกษุที่มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙, ภิกษุจัดเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาตํ่ากว่า ๕, ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ, และชั้นสูง คือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป. (ป.).
  9. นวก : [หฺนวก] ว. อาการที่หูขาดสมรรถภาพในการได้ยินเสียง.

Budhism Thai-Thai Dict : นวก, 6 found, display 1-6
  1. นวกภูมิ : ขั้น ชั้น หรือระดับพระนวกะ, ระดับอายุ คุณธรรม ความรู้ ที่นับว่ายังเป็นผู้ใหญ่ คือ มีพรรษาต่ำกว่า ๕ ยังต้องถือนิสัย เป็นต้น เทียบ เถรภูมิ, มัชฌิมภูมิ
  2. นวก : 1.หมวด ๙ 2.ภิกษุใหม่, ภิกษุมีพรรษายังไม่ครบ ๕
  3. อนุปุพพิกถา : เทศนาที่แสดงไปโดยลำดับ เพื่อฟอกอัธยาศัยของสัตว์ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จากง่ายไปหายากเพื่อเตรียมจิตของผู้ฟังให้พร้อมที่จะรับฟังอริยสัจ มี ๕ คือ ๑) ทานกถา พรรณนาทาน ๒) สีลกถา พรรณนาศีล ๓) สัคคกถา พรรณนาสวรรค์ คือ ความสุขที่พรั่งพร้อมด้วยกาม ๔) กามาทีนวกถา พรรณนาโทษของกาม ๕) เนกขัมมานิสังสกถา พรรณาอานิสงส์แห่งการออกจากกาม
  4. สังฆนวก : ภิกษุผู้ใหม่ในสงฆ์ คือบวชภายหลังภิกษุทั้งหมดในชุมนุมสงฆ์นั้น
  5. มัชฌิมภูมิ : ขั้น ชั้น หรือระดับพระมัชฌิมะ คือพระปูนกลาง, ระดับอายุ คุณธรรม ความรู้ ที่นับว่าเป็นพระปูนกลาง (ระหว่างพระนวกะ กับพระเถระ) คือมีพรรษาเกิน ๕ แต่ยังไม่ครบ ๑๐ และมีความรู้พอรักษาตัวเป็นต้น
  6. มัชฌิมะ : ภิกษุผู้มีพรรษาครบ ๕ แล้ว แต่ยังไม่ถึง ๑๐ พรรษา (ต่ำกว่า ๕ เป็นนวกะ, ๑๐ พรรษาขึ้นไปเป็นเถระ)

ETipitaka Pali-Thai Dict : นวก, 5 found, display 1-5
  1. นวก : (วิ.) ต้น, แรก, ใหม่, สด, หนุ่ม. นว+ ก สกัด
  2. นวกภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุผู้บวชใหม่, นวกภิกษุ (ผู้มีพรรษายังไม่ครบ ๕).
  3. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  4. นวกตร : ค. ใหม่กว่า, อ่อนกว่า
  5. อวสฺสิก : ค. ยังไม่ได้กาลฝน, ยังไม่ได้พรรษา ; นวก

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : นวก, not found

(0.1247 sec)