Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นาฏศิลป์ .

Eng-Thai Lexitron Dict : นาฏศิลป์, 1 found, display 1-1
  1. dancing : (N) ; การเต้นรำ ; Related:ศิลปะการเต้นรำ, การเต้นระบำ, การฟ้อนรำ, การรำ, การร่ายรำ, การลีลาศ, นาฏกรรม, นาฏศิลป์ ; Syn:dance, hop, jig

Thai-Eng Lexitron Dict : นาฏศิลป์, 6 found, display 1-6
  1. นาฏศิลป์ : (N) ; dancing art ; Related:acting art, playing art ; Syn:การฟ้อนรำ, นาฏกรรม ; Def:ศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรำ ; Samp:ทางวิทยาลัยต้องการครูสอนนาฏศิลป์เป็นจำนวนมาก ; Unit:ชนิด, แบบ
  2. ทำเนียบ : (N) ; residence ; Related:dwelling, official residence ; Syn:บ้าน, เรือน, เคหสถาน, ที่อาศัย, ที่พัก, ที่อยู่, จวน, พระราชวัง, ตำหนัก ; Def:ที่พักทางราชการของผู้มีตำแหน่งสูง ; Samp:เมื่อวันอาทิตย์ที่ 29 เดือนนี้ ได้มีการแสดงนาฏศิลป์เขมรที่ทำเนียบเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ในกรุงเทพฯ
  3. เบิกโรง : (V) ; prelude ; Def:แสดงก่อนดำเนินเรื่อง, แสดงออกโรงครั้งแรก ; Samp:การแสดงเบิกโรงด้วยการรำอวยพรของนักเรียนนาฏศิลป์
  4. ผู้แสดง : (N) ; performer ; Related:actor, actress, artiste, presenter, renderer ; Syn:ตัวละคร, ดารา, นักแสดง, ศิลปิน ; Ant:ผู้ชม ; Def:ผู้เล่นหรือผู้ร่วมในการละเล่นหรือการแสดงต่างๆ ให้คนดู ; Samp:ในการแสดงนาฏศิลป์เขมรที่ทำเนียบเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาในกรุงเทพฯ มีผู้แสดงรวมทั้งหมดถึง 52 คน ; Unit:คน,ท่าน
  5. ฟ้อนรำ : (V) ; dance ; Syn:รำ, ร่ายรำ, ฟ้อน ; Def:แสดงท่าทางเคลื่อนไหว โดยมีลีลาและแบบท่าของการเคลื่อนไหวให้เข้ากับทำนองดนตรี ; Samp:เธอฟ้อนรำได้อ่อนช้อยสวยงามสมกับเป็นนักเรียนนาฏศิลป์
  6. มหาอุปรากร : (N) ; grand opera ; Syn:อุปรากร ; Def:ละครประเภทหนึ่ง มีดนตรีเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ ตัวละครทุกตัวจะร้องแทนพูด ถือเป็นละครชั้นสูงของชาวตะวันตก ; Samp:นักศึกษาสาขานาฏศิลป์ตะวันตกไปดูมหาอุปรากรจีนที่มาแสดงที่ศูนย์วัฒนธรรม ; Unit:เรื่อง

Royal Institute Thai-Thai Dict : นาฏศิลป์, 3 found, display 1-3
  1. นาฏศิลป์ : [นาดตะสิน] น. ศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรํา. (ส.).
  2. ศิลปะพื้นบ้าน : น. ศิลปะแขนงต่าง ๆ เช่น วรรณกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ หัตถกรรม ที่ชาวบ้านได้สร้างสรรค์ขึ้นจากการเรียนรู้และฝึกปรือในครอบครัว หรือในหมู่บ้าน เป็นงานสร้างสรรค์ของสังคมชาวบ้าน และได้ พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องกันมาหลายชั่วคน.
  3. ศิลปศาสตร์ : น. วิชาต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่วิชาทางเทคนิค หรือทาง อาชีพ เช่น ภาษาศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์; ตำราว่าด้วย วิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ เ๑. สูติ วิชาฟังสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชา เข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกาวิชากายบริหาร ๙.ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชา ดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์.

Budhism Thai-Thai Dict : นาฏศิลป์, 1 found, display 1-1
  1. ศิลปศาสตร์ : ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่างๆ มี ๑๘ ประการ เช่นตำราว่าด้วยการคำนวณ ตำรายิงธนู เป็นต้น อันได้มีการเรียนการสอนกันมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาล; ๑๘ ประการนั้น มีหลายแบบ ยกมาดูแบบหนึ่งจากคัมภีร์โลกนิติ และธรรมนิติ ได้แก่ ๑.สูติ ความรู้ทั่วไป ๒.สัมมติ ความรู้กฎธรรมเนียม ๓.สังขยา คำนวณ ๔.โยคยันตร์ การช่างการยนตร์ ๕.นีติ นิติศาสตร์ ๖.วิเสสิกา ความรู้การอันให้เกิดมงคล ๗.คันธัพพา วิชาร้องรำ ๘.คณิกา วิชาบริหารร่างกาย ๙.ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐.ปุราณา โบราณคดี ๑๑.ติกิจฉา วิชาแพทย์ ๑๒.อิติหาสา ตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓.โชติ ดาราศาสตร์ ๑๔.มายา ตำราพิชัยสงคราม ๑๕.ฉันทสา การประพันธ์ ๑๖.เกตุ วิชาพูด ๑๗.มันตา วิชามนต์ ๑๘.สัททา วิชาไวยากรณ์, ทั้ง ๑๘ อย่างนี้โบราณเรียกรวมว่า สิปปะ หรือศิลปะ ไทยแปลออกเป็น ศิลปศาสตร์ (ตำราว่าด้วยศิลปะต่างๆ); แต่ในสมัยปัจจุบัน ได้แยกความหมายศิลปะ กับ ศาสตร์ ออกจากกัน คือ ศิลปะ หมายถึง วิทยาการที่มีวัตถุประสงค์ตรง ความงาม เช่น ดุริยางคศิลป์ นาฏศิลป์ และจิตรกรรม เป็นต้น ศาสตร์ หมายถึง วิทยาการที่มีวัตถุประสงค์ตรงความจริง เช่น คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นต้น

ETipitaka Pali-Thai Dict : นาฏศิลป์, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : นาฏศิลป์, not found

(0.0232 sec)