talk of the devil! :
(IDM) ;
นี่ไงคนที่พูดถึง ;
Syn:speak of
That's last straw : (IDM) ; นี่คือสิ่งสุดท้าย
That's the straw that broke the camel's back : (IDM) ; นี่คือสิ่งสุดท้าย
Tah-dah! : (SL) ; ดูนี่สิ ; Related:นี่ไง
bustle about : (PHRV) ; ทำนู่นทำนี่ตลอด ; Related:ย้ายไปย้ายมาตลอด, วุ่นวายไม่หยุด
bustle around : (PHRV) ; ทำนู่นทำนี่ตลอด ; Related:ย้ายไปย้ายมาตลอด, วุ่นวายไม่หยุด
fro : (ADV) ; เคลื่อนที่ไปที่นั่นที่นี่
hither :
(ADV) ;
ที่นี่ (ภาษาโบราณ) ;
Related:ตรงนี้ ;
Syn:here
Such is life! : (IDM) ; นั่นแหละชีวิต ; Related:นี่แหละชีวิต
That's show business (for you). : (SL) ; นั่นแหละชีวิตจริง ; Related:นี่แหละคือสิ่งที่เป็นจริง
by the way :
(IDM) ;
อีกอย่างหนึ่ง ;
Related:อนึ่ง, เออ, เออนี่
Dig up! : (SL) ; ฟังนะ ; Related:เออนี่
hereabout : (ADV) ; รอบที่นี้ ; Related:ใกล้ๆที่นี่
here and there :
(ADV) ;
ตรงนั้นตรงนี้ ;
Related:ที่โน่นที่นี่ ;
Syn:patchily, scatteringly
นี่ : ส. คําใช้แทนนามที่อ้างถึงบุคคลหรือสิ่งที่อยู่ใกล้ เช่น นี่ใคร นี่อะไร. ว. คําใช้ประกอบคํานามหรือกริยาให้รู้ว่าอยู่ใกล้หรือชี้เฉพาะ เช่น หนังสือนี่แต่งดี ขนมนี่อร่อย อยู่นี่ มานี่; คําประกอบท้ายคําเพื่อเน้น ความหมาย เช่น เดี๋ยวเฆี่ยนเสียนี่. นี่แน่ะ คําบอกให้ดูหรือเตือนให้รู้, นี่ ก็ว่า. นี่แหละ คําแสดงการเน้นให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น ฉันนี่แหละ นี่แหละ โลก. นี่เอง คําประกอบคําอื่นแสดงการเน้นให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น เธอนี่เอง เด็กคนนี้นี่เอง.
เหนี่ยง : [เหฺนี่ยง] น. ชื่อด้วงปีกแข็งชนิด Hydrophilus bilineatus ในวงศ์ Hydrophilidae ลําตัวรูปไข่ แบนเล็กน้อย ตัวยาวประมาณ ๓.๕ เซนติเมตร กว้างประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร สีดําตลอดตัว มีหนามแหลมที่ด้านล่าง ของอกยาวยื่นไปถึงส่วนท้อง อาศัยอยู่ตามแหล่งนํ้าต่าง ๆ, โดยปริยาย ใช้เรียกผู้ที่มีผิวดำคล้ำโดยธรรมชาติหรือเพราะถูกแดดถูกลมมากว่า ตัวดำเป็นเหนี่ยง.
เหนี่ยน : [เหฺนี่ยน] (ถิ่น-อีสาน) น. ชื่อกับข้าวชนิดหนึ่ง ใช้มะเขือพวงเป็นต้นเผาแล้ว คลุกด้วยนํ้าพริกปลาร้า.
นั่น : ส. คําใช้แทนนามที่อยู่ไกลกว่า นี่ เช่น นั่นอะไร, คําใช้แทนนามที่หมายถึง บุคคลสิ่งของ หรือเรื่องที่อ้างถึง เช่น เอานี่ผสมนั่น. ว. ที่อยู่ไกลกว่า นี่ เช่น โต๊ะนั่น ที่นั่น. นั่นซี, นั่นนะซี คําแสดงการเห็นพ้องด้วย. นั่นแน่ คําแสดงการยืนยันการพบเห็นเป็นต้น เช่น นั่นแน่มาอยู่ที่นี่เอง นั่นแน่ ว่าแล้วอย่างไรล่ะ. นั่นปะไร, นั่นเป็นไร คํากล่าวแสดงว่าเหตุการณ์เป็นอย่างที่พูดไว้, (ปาก) คำแสดงการซ้ำเติม เช่น นั่นปะไร ว่าแล้วไม่เชื่อ.
กระตรุม : (กลอน) น. นกตะกรุม เช่น เขาคุ่มกระตรุมกระไตร ตระไนนี่สนั่นเสียง. (สรรพสิทธิ์).
Royal Institute Thai-Thai Dict : นี่, more results...
ต่อหนังสือค่ำ : วิธีที่ใช้สอนให้จำ ในยุคที่ยังไม่ได้ใช้หนังสือ โดยอาจารย์สอนให้ว่าทีละคำหรือทีละวรรค ศิษย์ก็ว่าตามว่าซ้ำหลายๆ ครั้งเพื่อให้จำได้ เมื่อศิษย์จำได้แล้ว อาจารย์ก็สอนต่อไปทุกๆ วัน วันละมากหรือน้อยแล้วแต่ความสามารถของศิษย์ นี่เรียกว่า ต่อหนังสือ และมักต่อในเวลาค่ำ จึงเรียกว่าต่อหนังสือค่ำ
ตัณหา : ความทะยานอยาก, ความดิ้นรน, ความปรารถนา, ความเสน่หา มี ๓ คือ ๑.กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม อยากได้อารมณ์อันน่ารักใคร่ ๒.ภวตัณหา ความทะยากอยากในภพ อยากเป็นนั่นเป็นนี่ ๓.วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิภพ อยากไม่เป็นนั่นไม่เป็นนี่ อยากพรากพ้นดับสูญไปเสีย
ติรัจฉานกถา : ถ้อยคำอันขวางต่อทางนิพพาน, เรื่องราวที่ภิกษุไม่ควรนำมาเป็นข้อถกเถียงสนทนา โดยไม่เกี่ยวกับการพิจารณาสั่งสอนแนะนำทางธรรม อันทำให้คิดฟุ้งเฟ้อและพากันหลงเพลินเสียเวลา เสียกิจหน้าที่ที่พึงปฏิบัติตามธรรม เช่น ราชกถา สนทนาเรื่องพระราชา ว่าราชาพระองค์นั้นโปรดของอย่างนั้น พระองค์นี้โปรดของอย่างนี้ โจรกถา สนทนาเรื่องโจรว่าโจรหมู่นั้นปล้นที่นั่นได้เท่านั้นๆ ปล้นที่นี่ได้เท่านี้ๆ เป็นต้น (ท่านแสดงไว้ ๒๘ อย่าง หรือแยกย่อยได้ ๓๓ อย่าง)
ภวตัณหา : ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่ หรืออยากเกิดอยากมีอยู่คงอยู่ตลอดไป, ความทะยานอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ (ข้อ ๒ ในตัณหา ๓)
มานะ : ความถือตัว, ความสำคัญตัว ว่าเป็นนั่นเป็นนี่ (ข้อ ๕ ในอนุสัย ๗, ข้อ ๘ ในสังโยชน์ ๑๐, ข้อ ๑๓ ในอุปกิเลส ๑๖)
Budhism Thai-Thai Dict : นี่, more results...
เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
จกฺขุโลล : ค. ผู้คะนองตา, ผู้มีสายตา, ผู้อยากเห็นโน่นเห็นนี่
ชปฺปา : (อิต.) ความปรารถนา, ความเหนี่ยรั้ง.
ภวตณฺหา : (อิต.) ความอยากในความมี, ความอยากในความเป็น, ความอยากในความเกิด, ความปรารถนาในความมี, ฯลฯ, ความอยากมี, ฯลฯ, ตัณหาเป็นไปในภพ, ตัณหาในภพ, ความกำหนัดแห่งจิตอันสหรคตด้วยภวทิฏฐิ, ความอยากเป็นอยู่ในภพ, ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
อมุ : (ไตรลิงค์) อื่น, โน้น, ที่นี่, ที่นี้.
อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
อเห : อ. เอะ! นี่แน่ะ! อย่างไรกันนี่!
อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
เอตฺต : ก. วิ. ที่นั่น, ที่นี่