Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นี้ .

Eng-Thai Lexitron Dict : นี้, more than 7 found, display 1-7
  1. this : (PRON) ; นี้ (ใช้แทนคำนามที่กล่าวถึงหรือทราบกันดีอยู่แล้ว) ; Syn:the one, this one, that
  2. recent : (ADJ) ; เร็วๆ นี้ ; Related:ไม่นานมานี้ ; Syn:current, contemporary, up-to-date
  3. any day now : (IDM) ; เร็วๆ นี้ ; Related:ในไม่ช้า
  4. this : (DET) ; (คน, สิ่ง) นี้ ; Syn:the, that
  5. recently : (ADV) ; เมื่อไม่นานมานี้ ; Related:เมื่อเร็วๆ นี้ ; Syn:lately, newly
  6. actual : (ADJ) ; ซึ่งมีอยู่ในเวลานี้ ; Related:ซึ่งเป็นอยู่ในขณะนี้ ; Syn:present, concrete
  7. as yet : (IDM) ; จนกระทั่งเดี๋ยวนี้ ; Related:จนบัดนี้, ตอนนี้, จนถึงตอนนี้
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : นี้, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : นี้, more than 7 found, display 1-7
  1. ตรงนี้ : (DET) ; here ; Related:this place ; Syn:นี้ ; Samp:หอตรงนี้เป็นโรงเรียนมาก่อน
  2. นั้น : (PRON) ; that ; Related:those ; Ant:นี้ ; Def:ใช้ประกอบนามหรือข้อความที่กล่าวอ้างมาแล้ว ; Samp:การนำเสนอของเราวันนี้น่าจะทำได้ดีกว่านั้น
  3. นี้แหละ : (DET) ; this ; Ant:นั้นแหละ ; Samp:บทจะอารมณ์ดีแม่ก็พูดเพราะๆ ได้อย่างนี้แหละ
  4. ศกนี้ : (N) ; this year ; Syn:ปีนี้, พ.ศ.นี้ ; Ant:ศกหน้า ; Samp:กองกำลังส่วนหนึ่งจะเริ่มถอนออกไปประมาณกลางเดือนพฤษภาคมศกนี้
  5. เช้านี้ : (N) ; this morning ; Syn:เช้าวันนี้ ; Ant:เย็นนี้ ; Def:เวลาเช้าของวันนี้ ; Samp:จิตใจของเธอในเช้านี้เบิกบาน เพราะมีโอกาสได้สัมผัสกับลูกน้อยอย่างแท้จริง
  6. เดี๋ยวนี้ : (ADV) ; at this moment ; Related:now, instantly, at once, right now, immediately ; Syn:ปัจจุบัน, ทันที, เวลานี้, ฉับพลัน, ทันทีทันใด, บัดนี้, ตอนนี้ ; Ant:ก่อนนี้ ; Def:ณ เวลานี้ ; Samp:ผู้อำนวยการต้องเข้าร่วมประชุมเดี๋ยวนี้แล้ว
  7. เดี๋ยวนี้ : (N) ; now ; Related:(at) present, today, these days ; Syn:ตอนนี้, ทุกวันนี้, ปัจจุบันนี้ ; Ant:ก่อนนี้, อดีต ; Samp:เดี๋ยวนี้มลพิษในเมืองใหญ่มีมากขึ้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : นี้, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : นี้, more than 5 found, display 1-5
  1. นี้ : ว. คําใช้ประกอบนามหรือข้อความที่อยู่ใกล้หรือชี้เฉพาะ เช่น ทุกวันนี้ ชายคนนี้.
  2. เร็ว ๆ นี้ : ว. ไม่นาน (ใช้แก่อดีต) เช่น เขามาถึงเมื่อเร็ว ๆ นี้ เขาเพิ่งบรรลุ นิติภาวะเร็ว ๆ นี้, ไม่ช้า (ใช้แก่อนาคต) เช่น เขาจะมาถึงเร็ว ๆ นี้ เขาจะ แต่งงานเร็ว ๆ นี้.
  3. เดี๋ยวนี้ : ว. เวลานี้, ในเวลานี้, ทันที, ประเดี๋ยวนี้ ก็ว่า.
  4. ท่านั้นท่านี้ : (สํา) ว. อย่างนั้นอย่างนี้, โยกโย้, เช่น พูดท่านั้นท่านี้.
  5. ทุกวันนี้ : ว. ขณะนี้, ในปัจจุบันนี้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : นี้, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : นี้, more than 5 found, display 1-5
  1. จริยธรรม : “ธรรมคือความประพฤติ”, “ธรรมคือการดำเนินชีวิต”, หลักความประพฤติ, หลักการดำเนินชีวิต; คำ “จริยธรรม” นี้ นักปราชญ์ในประเทศไทยได้บัญญัติให้ใช้สำหรับคำภาษาอังกฤษว่า ethics หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม หรือกฎศีลธรรม; จริยะ หรือพรหมจริยะ (พรหมจริยธรรม หรือ พรหมจรรย์) แปลว่า ความประพฤติอันประเสริฐ หมายถึง มรรคมีองค์ ๘ หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา เทียบ ศีลธรรม
  2. ปักขคณนา : “การนับปักษ์”, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา
  3. ปักษคณนา : การนับปักษ์, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา
  4. ปัญจกัชฌาน : ฌานหมวด ๕ หมายถึงรูปฌานที่ตามปกติอย่างในพระสูตรแบ่งเป็น ๔ ขั้น แต่ในพระอภิธรรมนิยมแบ่งซอยละเอียดออกไปเป็น ๕ ชั้น (ท่านว่าที่แบ่ง ๕ นี้ เป็นการแบ่งในกรณีที่ผู้เจริญฌานมีญาณไม่แก่กล้า จึงละวิตกและวิจารได้ทีละองค์) ดู ฌาน
  5. มธุรสูตร : พระสูตรที่พระมหากัจจายนะแสดงแก่พระเจ้ามธุรราช อวันตีบุตร กล่าวถึงความไม่ต่างกันของวรรณะ ๔ เหล่า คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ใจความว่าวรรณะ ๔ นี้ แม้จะถือตัวอย่างไร เหยียดหยามกันอย่างไร แต่ถ้าทำดีก็ไปสู่ที่ดีเหมือนกันหมด ถ้าทำชั่วก็ต้องได้รับโทษ ไปอบายเหมือนกันหมด ทุกวรรณะ เสมอกันในพระธรรมวินัย ออกบวชบำเพ็ญสมณธรรมแล้ว ไม่เรียกว่า วรรณะไหน แต่เป็นสมณะเหมือนกันหมด เมื่อจบเทศนาพระเจ้ามธุรราชประกาศพระองค์เป็นอุบาสก (สูตรที่ ๓๔ ในมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พระสุตตันตปิฎก)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : นี้, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : นี้, more than 5 found, display 1-5
  1. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
  2. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  3. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  4. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  5. อย : ป., อิต. (คน) นี้
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : นี้, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : นี้, 6 found, display 1-6
  1. เดี๋ยวนี้ : อิทานิ
  2. พรุ่งนี้ : หิยฺโย, ปุนทิวโส, ปุเนกเทวโส
  3. วันพรุ่งนี้ : ปุเนกทิวเส
  4. วานซืนนี้ : ปรหิยฺโย
  5. วานนี้ : หิยฺโย
  6. อุบายนี้ใช้ได้ : อตฺเถโส ปาโย, ภทฺทโก ว อุปาโย

(0.1984 sec)