Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปฏิทิน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ปฏิทิน, 7 found, display 1-7
  1. calendar : (N) ; ปฏิทิน
  2. almanac : (N) ; ปฏิทินโหราศาสตร์ ; Related:ปฏิทินร้อยปี, สมุดปฏิทินโหร ; Syn:calendar, yearbook
  3. Julian calender : (N) ; ปฏิทินที่ทำขึ้นโดยจูเลียส ซีซาร์ โดยปีหนึ่งจะมี 365 วัน และ 366 วันทุก 4 ปี
  4. calendar month : (N) ; ระยะเวลาหนึ่งเดือนตามปฏิทิน ; Syn:month
  5. calendar year : (N) ; ระยะเวลาหนึ่งปีตามปฏิทิน ; Related:ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมจนถึง 31 ธันวาคมในปีเดียวกัน ; Syn:civil year
  6. ides : (N) ; วันที่ 15 ของเดือนมี.ค. พ.ค., ก.ค, ต.ค (ตามปฏิทินโรมันโบราณ) ; Related:วันที่ 13 ของเดือนอื่นๆ ในปี
  7. Ramadan : (N) ; เดือนถือศีลอดของชาวมุสลิม ; Related:เดือนเก้าในปฏิทินอิสลามซึ่งถือเป็นฤดูถือศีลอด

Thai-Eng Lexitron Dict : ปฏิทิน, 11 found, display 1-11
  1. ปฏิทิน : (N) ; calendar ; Def:แบบสำหรับดูวัน เดือน ปี ; Samp:บริษัทแจกปฏิทินเป็นของขวัญปีใหม่ให้แก่ลูกค้า
  2. ปฏิทิน : (N) ; calendar ; Def:แบบสำหรับดูวัน เดือน ปี ; Samp:พระราชบัญญัติจะมีผลบังคับหลังวันประกาศสามเดือนตามปฏิทิน ; Unit:แผ่น, ฉบับ, เล่ม
  3. ปีปฏิทิน : (N) ; calendar year ; Related:civil year ; Syn:ปฏิทิน ; Samp:ในปีปฏิทินหนึ่งๆ อาจมีจันทรุปราคาได้ 3 ครั้ง ; Unit:ปี
  4. ปฏิทินโหราศาสตร์ : (N) ; astrological calendar ; Def:การนับวันเดือนปีตามหลักโหราศาสตร์
  5. สมุดปฏิทินโหร : (N) ; almanac ; Related:calendar ; Syn:ปูมโหร, ปูม ; Def:สมุดแสดงการเคลื่อนไหวของดาวพระเคราะห์ประจำวัน, จดหมายเหตุของโหร ; Samp:หมอดูแทบทุกคน ต้องเคยศึกษาสมุดปฏิทินโหรมาก่อน ; Unit:เล่ม
  6. ปูม : (N) ; almanac ; Related:calendar ; Syn:ปูมโหร, สมุดปฏิทินโหร, บันทึก ; Def:สมุดแสดงการเคลื่อนไหวของดาวพระเคราะห์ประจำวัน, จดหมายเหตุของโหร ; Unit:เล่ม
  7. ปูมโหร : (N) ; almanac ; Related:calendar ; Syn:ปูม, ปฏิทินโหร ; Def:สมุดแสดงการเคลื่อนไหวของดาวพระเคราะห์ประจำวัน, จดหมายเหตุของโหร ; Samp:หมอดูเปิดปูมโหรประกอบการทำนายดวงชะตา ; Unit:เล่ม
  8. คัด : (V) ; select ; Related:pick, choose, assort ; Syn:เลือกสรร, คัดเลือก, เลือกเฟ้น ; Def:เลือกจากสิ่งที่รวมกันอยู่ ; Samp:ในอดีตปฏิทินแม่โขงนั้นดังมากที่สุดเพราะคัดเอาบรรดาสาวสวยมานุ่งน้อยห่มน้อยถ่ายภาพกันให้เห็น
  9. เดือนอ้าย : (N) ; first lunar month ; Related:December ; Syn:เดือนธันวาคม ; Def:เดือนที่หนึ่งทางจันทรคติ ; Samp:เดือนอ้ายเป็นเดือนแรกตามปฏิทินจันทรคติ
  10. นุ่งน้อยห่มน้อย : (V) ; be in the buff ; Related:leave one's body bare ; Def:เกือบไม่ได้นุ่งอะไรเลย ; Samp:นางแบบนุ่งน้อยห่มน้อยถ่ายแบบปฏิทินสุรา
  11. นุ่งลมห่มฟ้า : (V) ; be stripped to the buff ; Related:be naked, be in buff, be in the nude ; Syn:เปลือยกาย, แก้ผ้า, แก้ผ้าแก้ผ่อน, นุ่งน้อยห่มน้อย ; Samp:บริษัทสุราได้คัดเอาบรรดาสาวสวยมานุ่งลมห่มฟ้าถ่ายภาพปลุกใจเสือป่าเพื่อทำเป็นปฏิทินในปีใหม่นี้

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปฏิทิน, 4 found, display 1-4
  1. ปฏิทิน : น. แบบสําหรับดูวัน เดือน ปี. (ป.; ส. ปฺรติทิน ว่า เฉพาะวัน, สําหรับวัน).
  2. ปฏิทินโหราศาสตร์ : น. ตาตารางแผนที่แสดงการเคลื่อนไหวของดาว พระเคราะห์ประจำวัน, ปูม ก็เรียก.
  3. ประติทิน : น. ปฏิทิน. (ส. ปฺรติ + ทิน; ป. ปฏิ + ทิน).
  4. ปูม : น. ตาตารางแผนที่แสดงการเคลื่อนไหวของดาวพระเคราะห์ ประจําวัน, ปฏิทินโหราศาสตร์ ก็เรียก, จดหมายเหตุของโหร, เรียกสมุดบันทึกรายการต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินเรือหรือการ เดินอากาศ เช่น เดินทางจากไหนถึงไหน วันที่เดินทาง จํานวน ชั่วโมง ฯลฯ ว่า สมุดปูมเดินทาง; ผ้าไหมชนิดหนึ่งมีดอกเป็นตา ๆ.

Budhism Thai-Thai Dict : ปฏิทิน, 3 found, display 1-3
  1. บอกศักราช : เป็นธรรมเนียมของพระสงฆ์ไทยแต่โบราณ มีการบอกกาลเวลา เรียกว่าบอกศักราช ตอนท้ายสวดมนต์ และก่อนจะแสดงพระธรรมเทศนา (หลังจากให้ศีลจบแล้ว) ว่าทั้งภาษาบาลีและคำแปลภาษาไทย การบอกอย่างเก่า บอกปี ฤดู เดือน วัน ทั้งที่เป็นปัจจุบัน อดีต และอนาคต คือบอกว่าล่วงไปแล้วเท่าใด และยังจะมีมาอีกเท่าใด จึงจะครบจำนวนอายุพระพุทธศาสนา๕พันปี แต่ประมาณ พ.ศ.๒๔๘๔ ที่รัฐบาลประกาศใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ เป็นต้นมา ได้มีวิธีบอกศักราชอย่างใหม่ขึ้นใช้แทน บอกเฉพาะปี พ.ศ.เดือน วันที่ และวันในปัจจุบัน ทั้งบาลีและคำแปล บัดนี้ไม่นิยมกันแล้ว คงเป็นเพราะมีปฏิทินและเครื่องบอกเวลาอย่างอื่น ใช้กันดื่นทั่วไป
  2. ปักขคณนา : “การนับปักษ์”, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา
  3. ปักษคณนา : การนับปักษ์, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปฏิทิน, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ปฏิทิน, not found

(0.0421 sec)