Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปนา , then ปน, ปนะ, ปนา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ปนา, more than 7 found, display 1-7
  1. shuffle : (VT) ; ผสม ; Related:ปน
  2. mix up : (PHRV) ; ผสม ; Related:รวม, ปน
  3. churn into : (PHRV) ; ปั่น ; Related:กวน ; Syn:churn to
  4. churn to : (PHRV) ; ปั่น ; Related:กวน ; Syn:churn into
  5. contaminant : (N) ; สิ่งปนเปื้อน
  6. contamination : (N) ; การปนเปื้อน
  7. cupric : (ADJ) ; ที่ปนทองแดง ; Syn:cuprous
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ปนา, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ปนา, more than 7 found, display 1-7
  1. ปน : (V) ; mix ; Related:adulterate, mingle, be mixed, blend ; Syn:ประสม, แกมกัน, รวมกัน, ประสาน, ผสาน, ปนเป, ผสมผสาน, ผสม, คละเคล้า ; Samp:บางคนชอบทานข้าวที่มีข้าวจ้าวปนกับข้าวเหนียว
  2. ปะปน : (V) ; confuse ; Related:confound with ; Syn:ปน ; Def:สิ่งต่างชนิดต่างประเภทระคนปนกัน ; Samp:ผมจะขอย้ำอีกครั้งหนึ่งว่าจงอย่าเอาแลนไปปะปนกับระบบ UNIX ที่โยงกันเป็นเน็ตเวิร์ค
  3. คละปน : (V) ; mingle ; Related:mix, blended ; Syn:ปน ; Samp:โรคประสาทในเด็กมักจะมีอาการคละปนกันแบบผสม คืออาการเศร้าแฝงก้าวร้าว ดื้อดึง ต่อต้าน หงุดหงิด
  4. ปนเปื้อน : (ADJ) ; contaminated ; Related:dirty, infected, polluted ; Def:ผสมอยู่, ปะปนอยู่, รวมอยู่ ; Samp:จะมีใครสักกี่คนรู้ว่า เบื้องหลังความอร่อยของอาหารต่างๆ อาจจะมีสารปนเปื้อนสะสมอยู่มากมาย
  5. ปนเปื้อน : (V) ; contaminate ; Related:infect, pollute ; Def:ผสมอยู่, ปะปนอยู่, รวมอยู่ ; Samp:สหรัฐฯ ตรวจพบเชื้อโรคปนเปื้อนในกุ้งที่นำเข้าจากอินเดียและปากีสถาน
  6. ระคนกัน : (ADV) ; simultaneously ; Related:concurrently ; Syn:ปน, ผสม ; Def:ปน หรือผสมให้เข้ากัน คละกัน เป็นกลุ่ม เป็นพวก ; Samp:เขานึกถึงความหลังที่มีทั้งสุข ทุกข์ ดีใจ และเสียใจระคนกันไป
  7. ป่น : (V) ; pound ; Related:powder, grind, crush, pulverize ; Syn:ตำ, โขลก, โม่, บด, ปั่น, บี้ ; Def:ทำให้แหลกละเอียดด้วยการตำเป็นต้น ; Samp:ให้เอาใบชนิดนี้ตากแดดจนแห้งกรอบแล้วมาป่นเป็นผงชงกับน้ำร้อนครั้งละ 1 ช้อนชา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ปนา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปนา, more than 5 found, display 1-5
  1. ปน : ก. ประสมกัน เช่น ข้าวเจ้าปนข้าวเหนียว, แกมกัน เช่น พูดไทย ปนฝรั่ง, รวมกัน เช่น อย่าเอาผ้านุ่งกับเสื้อซักปนกัน, ถ้าเอาส่วน น้อยประสมลงในส่วนมากเพื่อให้ระคนปนเป็นอันเดียวกัน เรียกว่า เจือปน, ถ้าเป็นในลักษณะที่ปนกันทั้งเล็กและใหญ่ ทั้งดีและชั่ว เรียกว่า คละปน.
  2. กปณ : [กะปะนะ] ว. กําพร้า, อนาถา, ไร้ญาติ, ยากไร้, น่าสงสาร, (กลอน) เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจํานง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน. (ม. คําหลวง มัทรี). (ป.).
  3. กปณา : [กะปะนา] ว. อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจำนง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน. (ม. คำหลวง มัทรี). (ป. กปณ)
  4. กัลปนา : [กันละปะนา] ก. เจาะจงให้. น. ที่ดินหรือสิ่งอื่นเช่นอาคารซึ่งเจ้าของ อุทิศผลประโยชน์ให้แก่วัดหรือศาสนา; ส่วนบุญที่ผู้ทําอุทิศให้แก่ผู้ตาย. (ส.; ป. กปฺปนา).
  5. กรสาปน, กรสาปน์ : [กฺระสาบ] (แบบ) น. กระษาปณ์ เช่น แลพราหมณ์น้นนได้ทอง ร้อยกรสาปน เปนลาภด้วยเดอรขอทานทุกวันวารแก่มหาชน ทงงหลายบมิขาดเลย. (ม. คําหลวง ชูชก). (ส. การฺษาปณ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ปนา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ปนา, more than 5 found, display 1-5
  1. อัปปนาภาวนา : ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือ ฝึกสมาธิถึงขั้นเป็นอัปปนา เป็นขั้นบรรลุปฐมฌาน (ข้อ ๓ ในภาวนา ๓)
  2. สมาทปนา : การให้สมาทาน หรือชวนให้ปฏิบัติคือ อธิบาย ให้เห็นว่าเป็นความจริง ดีจริง จนใจยอมรบที่จะนำไปปฏิบัติ; เป็นลักษณะอย่างหนึ่งของการสอนที่ดี (ข้อก่อนคือสันทัสสนา, ข้อต่อไปคือ สมุตเตชนา)
  3. อัปปนาสมาธิ : สมาธิแน่วแน่, จิตตั้งมั่นสนิท เป็นสมาธิในฌาน (ข้อ ๒ ในสมาธิ ๒, ข้อ ๓ ในสมาธิ ๓)
  4. ฌาน : การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่ เป็นอัปปนาสมาธิ, ภาวะจิตสงบประณีต ซึ่งมีสมาธิเป็นองค์ธรรมหลัก; ฌาน ๔ คือ ๑.ปฐมฌาน มีองค์ ๕ (วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ๒.ทุติยฌาน มีองค์ ๓ (ปีติ สุข เอกัคคตา) ๓.ตติยฌาน มีองค์ ๒ (สุข เอกัคคตา) ๔.จตุตถฌาน มีองค์ ๒ (อุเบกขา เอกัคคตา); ฌาน ๕ ก็เหมือนอย่าง ฌาน ๔ นั่นเอง แต่ตามแบบอภิธรรม ท่านซอยละเอียดออกไป โดยเพิ่มข้อ ๒ แทรกเข้ามา คือ ๑.ปฐมฌาน มีองค์ ๕ (วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ๒.ทุติยฌาน มีองค์ ๔ (วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ข้อ ๓.๔.๕.ตรงกับ ข้อ ๒.๓.๔.ในฌาน ๔ ตามลำดับ
  5. ภาวนา : การทำให้มีขึ้นเป็นขึ้น, การทำให้เกิดขึ้น, การเจริญ, การบำเพ็ญ 1.การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ ๑.สมถภาวนา ฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ ๒.วิปัสสนาภาวนา ฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริง, อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกันคือ ๑.จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ ๒.ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสและความทุกข์ 2.การเจริญสมถกรรมฐานเพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ ๑.บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตระเตรียม คือกำหนดอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือเกิดอุปจารสมาธิ ๓.อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือเกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน 3.ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็น การท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ปนา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปนา, more than 5 found, display 1-5
  1. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  2. ปนาลิ ปนาฬิ ปนาลี : (อิต.) ทางน้ำไหล, รางน้ำ, ท่อน้ำ. ปปุพฺโพ, นลฺ คนฺเธ, อ. ฎีกาอภิฯ ว่าเป็น ปุ และ อิต.
  3. อปนมติ, อปนาเมติ : ก. นำไป, นำออก, เนรเทศ, น้อมลง
  4. กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
  5. ปพนฺธกปฺปนา : (อิต.) ประพันธกถาศาสตร์ ( นิยายที่แต่งขึ้นต่อเนื่องยืดยาว ) วิ. ปพนฺเธเนว จ สวิตฺถาเรน กปฺปนํ ยสฺสา สา ปพนฺธกปฺปนา.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ปนา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ปนา, 4 found, display 1-4
  1. การตีราคา : อคฺฆาปน [นป.]
  2. กี่, หูกทอผ้า : อาวาปน [ป.นป.]
  3. ไม่หวั่นไหว : อจล, อกมฺปน
  4. สอน : อนุสาสิตฺวา, โอวทิตฺวา, ปริโยทปน

(0.1815 sec)