Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปรับเปลี่ยน, เปลี่ยน, ปรับ , then ปรบ, ปรบปลยน, ปรับ, ปรับเปลี่ยน, ปรัป, ปลยน, เปลี่ยน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ปรับเปลี่ยน, more than 7 found, display 1-7
  1. convert : (VI) ; เปลี่ยน ; Related:เปลี่ยนไปเป็น ; Syn:change, turn
  2. convert : (VT) ; เปลี่ยน ; Related:ทำให้เปลี่ยนไปเป็น ; Syn:change, turn
  3. Eng-Thai Lexitron Dict : ปรับเปลี่ยน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ปรับเปลี่ยน, more than 7 found, display 1-7
  1. ปรับเปลี่ยน : (V) ; change ; Related:alter, convert, vary, transform, adjust ; Syn:เปลี่ยนแปลง ; Samp:บ้านเรือนที่อยู่อาศัยของชาวโซ่งในปัจจุบันปรับเปลี่ยนมาเป็นบ้านไทยจนแทบไม่เหลือเค้าโครงเดิม
  2. ปรับเปลี่ยน : (V) ; change ; Related:alter, convert, vary, transform, adjust ; Syn:เปลี่ยนแปลง ; Samp:บ้านเรือนที่อยู่อาศัยของชาวโซ่งในปัจจุบันปรับเปลี่ยนมาเป็นบ้านไทยจนแทบไม่เหลือเค้าโครงเดิม
  3. เปลี่ยนแปลง : (V) ; change ; Related:alter, modify, reform, reorganize, restyle ; Syn:ปรับเปลี่ยน, ปรับปรุง, แก้ไข, ปรับ, ปฏิรูป, พัฒนา, ปรับเปลี่ยน, เปลี่ยน ; Ant:คงเดิม ; Def:ทำให้แตกต่างไป ; Samp:ผู้จัดการเปลี่ยนแปลงแผนการทำงานบางส่วนเพื่อให้ลูกน้องทำงานได้สะดวกขึ้น
  4. เปลี่ยน : (V) ; vary ; Related:alter, vary, transform, change ; Syn:เปลี่ยนแปลง, แปลง ; Ant:คงสภาพ, คงที่ ; Def:เอาสิ่งหนึ่งเข้าแทนอีกสิ่งหนึ่ง ; Samp:ร่างกายจะเปลี่ยนโปรตีนส่วนเกินให้เป็นไขมัน
  5. ปรับ : (V) ; adjust ; Related:revise, improve, better ; Syn:แก้ไข, ปรับปรุง, เปลี่ยนแปลง, เปลี่ยน ; Def:ทำให้อยู่ในสภาพหรือลักษณะที่เหมาะสม ; Samp:กระทรวงศึกษาธิการปรับหลักสูตรการศึกษาใหม่ให้เข้ากับเหตุการณ์ปัจจุบัน
  6. ปรับ : (V) ; fine ; Related:impose a fine, inflict a penalty ; Syn:วางโทษ, ลงโทษ ; Def:ลงโทษให้ใช้เงินเพราะทำผิด, ลงโทษให้เป็นแพ้ ; Samp:ตำรวจปรับผู้ทีขับรถฝ่าฝืนไฟแดงเป็นจำนวนเงิน 500 บาท
  7. ปรับ : (V) ; level ; Related:smooth, even, flatten ; Syn:ทำให้เรียบ, ทำให้เสมอ, เกลี่ย ; Samp:ชาวไร่ชาวนาปรับหน้าดินเพื่อเตรียมการปลูกพืชครั้งใหม่
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ปรับเปลี่ยน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปรับเปลี่ยน, more than 5 found, display 1-5
  1. เปลี่ยน : [เปฺลี่ยน] ก. แปรหรือกลายไปจากลักษณะหรือภาวะเดิม, เอาสิ่งหนึ่ง เข้าแทนอีกสิ่งหนึ่งโดยกรรมวิธีต่าง ๆ เช่น แลกเปลี่ยน ผลัดเปลี่ยน สับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง, ย้าย เช่น เปลี่ยนที่อยู่ เปลี่ยนพรรค เปลี่ยน คลื่นวิทยุ.
  2. ปรับ : [ปฺรับ] ก. เปรียบ, เทียบ; ทําให้อยู่ในสภาพที่เหมาะหรือดีขึ้น, ทําให้เรียบ, ทําให้เสมอ; ลงโทษให้ใช้เงินเพราะทําผิด, ลงโทษ ให้เป็นแพ้; (กฎ) น. โทษทางอาญาสถานหนึ่ง ซึ่งผู้ต้องโทษ ต้องชําระเงินตามจํานวนที่กําหนดไว้ในคําพิพากษาต่อศาล หรือ ตามที่เจ้าพนักงานเปรียบเทียบ เรียกว่า โทษปรับ.
  3. ปรับ : [ปฺรับ] ก. บอก, เล่า. (ข. บฺราป่).
  4. ปรับไหม : (กฎ; โบ) ก. ให้ผู้กระทําผิดหรือกระทําละเมิดชําระเงิน ค่าสินไหมทดแทนหรือค่าปรับ.
  5. ปรับอากาศ : ว. ที่ปรับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่าเครื่องปรับอากาศ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ปรับเปลี่ยน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ปรับเปลี่ยน, more than 5 found, display 1-5
  1. ปัจจุทธรณ์ : ถอนคืน คือถอนคืนผ้าที่อธิษฐานไว้ เช่น อธิษฐานสบงคือ ตั้งใจกำหนดไว้ให้เป็นสบงครอง ภายหลังไม่อยากให้เป็นสบงครอง ภายหลังไม่อยากให้เป็นสบงครอง ก็ถอนคืนสบงนั้น เรียกว่า ปัจจุทธรณ์สบง, ตัวอย่าง ปัจจุทธรณ์สบงว่า “อิมํ อนฺตรวาสกํ ปจฺจุทฺธรามิ” (เปลี่ยน อนฺตรวาสกํ เป็น สงฺฆาฏึ” เป็น อุตฺตราสงฺคํ เป็นต้น สุดแต่ว่าจะถอนอะไร)
  2. เข้ารีต : เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น (มักใช้แก่ศาสนาคริสต์), ทำพิธีเข้าถือศาสนาอื่น
  3. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  4. ฆราวาสธรรม : หลักธรรมสำหรับการครองเรือน, ธรรมของผู้ครองเรือน มี ๔ อย่างคือ ๑.สัจจะ ความจริง เช่น ซื่อสัตย์ต่อกัน ๒.ทมะ ความฝึกฝน ปรับปรุงตน เช่น รู้จักข่มใจ ควบคุมอารมณ์ บังคับตนเองปรับตัวเข้ากับการงานและสิ่งแวดล้อมให้ได้ดี ๓.ขันติ ความอดทน ๔.จาคะ ความเสียสละ เผื่อแผ่ แบ่งปัน มีน้ำใจ
  5. จำพรรษา : อยู่ประจำวัด ๓ เดือนในฤดูฝน คือ ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ (อย่างนี้เรียกปุริมพรรษา แปลว่า พรรษาต้น) หรือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำเดือน ๙ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ (อย่างนี้เรียก ปัจฉิมพรรษา แปลว่า พรรษาหลัง); วันเข้าพรรษาต้น คือ แรม ๑ ค่ำเดือน ๘ เรียกว่า ปุริมิกา วัสสูปนายิกา, วันเข้าพรรษาหลัง คือ แรม ๑ ค่ำเดือน ๙ เรียกว่า ปัจฉิมิกา วัสสูปนายิกา ; คำอธิษฐานพรรษา ว่า อิมสฺมึ วิหาเร อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ ; ทุติยมฺปี อิมสฺมึ....; ตติยมฺปิ อิมสฺมึ....แปลว่า ข้าพเจ้าเข้าอยู่จำพรรษาตลอด ๓ เดือนในวัดนี้ (วิหาเร จะเปลี่ยนเป็น อาวาเส ก็ได้) ; อานิสงส์การจำพรรษามี ๕ อย่าง คือ ๑.เที่ยวไปไม่ต้องบอกลา ๒.จาริกไปไม่ต้องเอาไตรจีวรไปครบสำรับ ๓.ฉันคณโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ ๔.เก็บอดิเรกจีวรได้ตามปรารถนา ๕.จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้น เป็นของได้แก่พวกเธอ อานิสงส์ทั้ง ๕ นี้ได้ชั่วเวลาเดือนหนึ่ง นับแต่ออกพรรษาแล้ว คือ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ นอกจากนั้นยังได้สิทธิที่จะกรานกฐิน และได้รับอานิสงส์ ๕ นั้น ต่อออกไปอีก ๔ เดือน (ภิกษุผู้เข้าพรรษาแล้วหลัง ไม่ได้อานิสงส์หรือสิทธิพิเศษเหล่านี้)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ปรับเปลี่ยน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปรับเปลี่ยน, more than 5 found, display 1-5
  1. เจตาเปติ : ก. แลก, เปลี่ยน, ซื้อขาย
  2. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  3. อุปคุยฺห : (ปุ.) ราชพาหนะหลวง. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ยปจฺจโย, ยกฺปจฺจโย วา. เปลี่ยน ย ไว้หน้า ห.
  4. กยวิกย กยวิกฺกย : (ปุ.) การซื้อและการขาย, การซื้อขาย, การเปลี่ยน, การแลกเปลี่ยน.
  5. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ปรับเปลี่ยน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ปรับเปลี่ยน, 1 found, display 1-1
  1. ปรบมือ : ปหรติ, ปปฺโปเฐติ, ปปฺโปเฏติ

(0.2706 sec)