Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปัพ , then บัพ, ปพ, ปพฺ, ปัพ, ปัว .

Eng-Thai Lexitron Dict : ปัพ, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ปัพ, 2 found, display 1-2
  1. ปัพพาชนียกรรม : (N) ; banishment ; Related:ceremony of expelling a monk, exile ; Syn:บัพพาชนียกรรม ; Def:กิจของสงฆ์ทำในการขับไล่ภิกษุ, การขับไล่ออกจากหมู่ ; Samp:ปัพพาชนียกรรมเป็นหนึ่งในนิคหกรรม คือ การลงโทษพระภิกษุตามพระธรรมวินัย
  2. นัวเนีย : (V) ; confuse ; Related:muddle, disturb, perturb, ruffle ; Syn:พัลวัน, ยุ่ง, ปัวเปีย ; Def:เกี่ยวพันกันยุ่งไปหมด

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปัพ, 10 found, display 1-10
  1. ปัพพาชนียกรรม : [-ชะนียะ-] น. กิจของสงฆ์ทําในการขับไล่ภิกษุ; การขับไล่ออก จากหมู่. (ส. ปฺรวฺราชนียกรฺม; ป. ปพฺพาชนียกมฺม).
  2. ปัพพาชนะ : [ปับพาชะ-] (แบบ) น. การขับไล่. (ป.).
  3. ปัพภาระ : น. เงื้อมเขา. (ป.).
  4. บัพ : น. ข้อ, ปล้อง, ปม, เล่ม, หมวด, ตอน. (ป. ปพฺพ).
  5. บัพพาชน์ : [บับพาด] (แบบ) น. การขับไล่. (ป. ปพฺพาชน).
  6. ปัวเปีย : ก. นัวเนีย, ปะปน, เกี่ยวข้อง, คลุกคลี.
  7. นัวเนีย : ว. ปัวเปีย, พัลวัน, เกี่ยวพันกันยุ่ง.
  8. บัพพาช : [บับพาด] (แบบ) ก. ขับไล่ เช่น พระสญชัยยินราษฎร์ แกล้งบัพพาช กูไกล. (ม. คําหลวง วนปเวสน์). (ป. ปพฺพาช).
  9. บัพพาชนียกรรม : [บับพาชะนียะกํา] น. กรรมที่สงฆ์ทําแก่ภิกษุที่จะพึงขับไล่, พิธีขับไล่ บุคคลที่พึงขับไล่. (ป. ปพฺพาชนียกมฺม).
  10. ปราคภาร : [ปฺรากพาน] น. เงื้อมภูเขา. (ส. ปฺราคฺภาร; ป. ปพฺภาร).

Budhism Thai-Thai Dict : ปัพ, 7 found, display 1-7
  1. ปัพพัชชา : การถือบวช, บรรพชาเป็นอุบายฝึกอบรมตนในทางสงบ เว้นจากความชั่วมีการเบียดเบียนกันและกัน เป็นต้น (ข้อ ๒ ในสัปปุริสบัญญัติ ๓)
  2. ปัพพาชนียกรรม : กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุอันพึงจะไล่เสีย, การขับออกจากหมู่, การไล่ออกจากวัด, กรรมนี้สงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายสกุลและประพฤติเลวทรามเป็นข่าวเซ็งแซ่ หรือแก่ภิกษุผู้เล่นคะนอง ๑ อนาจาร ๑ ลบล้างพระบัญญัติ ๑ มิจฉาชีพ ๑ (ข้อ ๓ ในนิคหกรรม ๖)
  3. นิคคหกรรม : การลงโทษตามพระธรรมวินัย, สังฆกรรมประเภทลงโทษผู้ทำความผิด ท่านแสดงไว้ ๖ อย่างคือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม อุกเขปนียกรรม และตัสสาปาปิยสิกากรรม
  4. ปัพพชาจารย์ : อาจารย์ผู้ให้บรรพชา ; เขียนเต็มรูปเป็น ปัพพัชชาจารย์ จะเขียน บรรพชาจารย์ ก็ได้
  5. ปัพพชาเปกขะ : กุลบุตรผู้เพ่งบรรพชา, ผู้ตั้งใจจะบวชเป็นสามเณร, ผู้ขอบวชเป็นสามเณร; เขียนเต็มรูปเป็น ปัพพัชชาเปกขะ
  6. สัปปุริสบัญญัติ : ข้อที่ท่านสัตบุรุษตั้งไว้, บัญญัติของคนดี มี ๓ คือ ๑.ทาน ปันสละของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น ๒.ปัพพัชชา ถือบวช เว้นจากการเบียดเบียนกัน ๓.มาตาปิตุอุปัฏฐาน บำรุงมารดาบิดาของตนให้เป็นสุข
  7. อาจารย : ผู้สั่งสอนวิชาความรู้, ผู้ฝึกหัดอบรมมรรยาท, อาจารย์ ๔ คือ ๑) บัพพชาจารย์ หรือ บรรพชาจารย์ อาจารย์ในบรรพชา ๒) อุปสัมปทาจารย์ อาจารย์ในอุปสมบท ๓) นิสสยาจารย์ อาจารย์ผู้ให้นิสสัย ๔) อุทเทศาจารย์ หรือ ธรรมาจารย์ อาจารย์ผูสอนธรรม

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปัพ, more than 5 found, display 1-5
  1. ปพฺพาชนิยกมฺม : นป. ปัพพาชนียกรรม, กรรมที่สงฆ์กระทำแก่ภิกษุผู้ควรถูกขับไล่, การลงโทษด้วยการขับไล่จากอาวาส
  2. ปพฺพาชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงขับไล่, กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้มีอธิกรณ์อันสงฆ์พึงขับไล่, การขับไล่, ปัพพาชนียกรรม ชื่อกิจที่สงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูลหรือ ประพฤติลามกให้ออกไปเสียจากหมู่ (วัด) ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม. ไตร. ๖.
  3. ปพฺพาเชตาย : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันสงฆ์ขับไล่, ผู้ ควรขับไล่. วิ. ปพฺพาเชตุ อรหตีติ ปพฺ พาเชตาโย. ราย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๗.
  4. ปพฺพนิย : ค. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือตอนหนึ่ง, ซึ่งประกอบด้วย, ซึ่งเนื่องใน, ซึ่งจัดอยู่ใน
  5. ปพฺพาชน : (นปุ.) การขับไล่, การเนรเทศ. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, ยุ, ทีโฆ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ปัพ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ปัพ, 1 found, display 1-1
  1. เงื้อม : ปพฺภาโร

(0.1679 sec)