Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปาพ , then ปาพ, ปาว .

Eng-Thai Lexitron Dict : ปาพ, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ปาพ, 6 found, display 1-6
  1. ป่าแพะ : (N) ; grove forest ; Related:brake, grove of brushwood ; Syn:ป่าละเมาะ, ป่าแดง ; Def:ที่โล่งซึ่งประกอบด้วยไม้พุ่มเล็กๆ ; Samp:ป่าเต็งรัง ป่าแพะ ป่าแดง พบในที่แห้งแล้ง ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ มีกรวดปน ; Unit:แห่ง, ที่
  2. ป่าว : (V) ; proclaim ; Related:publicize, broadcast, announce ; Syn:ประกาศ, ป่าวร้อง, ป่าประกาศ ; Def:บอกให้รู้ทั่วกัน ; Samp:คำว่า ซื่อ ทำให้ฉันรู้จักตัวเองและพร้อมที่จะป่าวบอกให้ใครๆ รู้ว่าฉันนี่แหละคือสัตว์เลี้ยงชนิดหนึ่ง
  3. กาลนาน : (ADV) ; for ever and ever ; Syn:กาลปาวสาน, ตลอดกาล ; Samp:ขอให้ในหลวงทรงพระเจริญดำรงในสิริราชสมบัติตราบเท่ากาลนาน
  4. ป่าวประกาศ : (V) ; announce ; Related:publicize, broadcast, proclaim ; Syn:ประกาศ, ป่าว ; Def:บอกให้รู้ทั่วกัน ; Samp:เรามีข้อมูลที่ค่อนข้างจะแจ้งว่าชัยชนะครั้งแรกที่พันธมิตรป่าวประกาศไปทั่วโลกนั้นห่างไกลจากความถูกต้อง
  5. ป่าวร้อง : (V) ; proclaim ; Related:declare ; Syn:ป่าว, ประกาศ, ป่าวประกาศ ; Def:ร้องบอกให้รู้ทั่วกัน ; Samp:ชายหนุ่มคนหนึ่งใส่เสื้อผ้าปอนๆ เดินป่าวร้องไปตามบาทวิถีที่เนืองแน่นไปด้วยฝูงชน
  6. จตุรภูมิ : (N) ; Four Places ; Def:ภูมิ 4 คือ 1. กามาวจรภูมิ ภูมิของผู้ท่องเที่ยวในกามภพ 2. รูปาวจรภูมิ ภูมิของผู้ท่องเที่ยวในรูปภพ 3. อรูปาวจรภูมิ ภูมิของผู้ท่องเที่ยวในรูปภพ 4. โลกุตรภูมิ ภูมิอันพ้นจากโลก

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปาพ, 7 found, display 1-7
  1. ป่าแพะ : (ถิ่น-พายัพ) น. ป่าละเมาะ.
  2. ปาว ๆ : ว. อาการที่พูดดัง ๆ ซ้ำ ๆ ซาก ๆ แต่ไม่มีใครสนใจฟัง เช่น ครูสอนอยู่ปาว ๆ มีคนมาตะโกนเรียกอยู่ปาว ๆ.
  3. แพะ ๒ : น. ป่าแพะ. (ดู ป่าแพะ ที่ ป่า).
  4. ปาวกะ : [-วะกะ] (แบบ) น. ไฟ. (ป., ส.).
  5. ป่าว : ก. บอกให้รู้ทั่วกัน.
  6. จตุรภูมิ : [-พูม] น. ภูมิ ๔ คือ ๑. กามาวจรภูมิ ภูมิของผู้ท่องเที่ยวในกามภพ ๒. รูปาวจรภูมิ ภูมิของผู้ท่องเที่ยวในรูปภพ ๓. อรูปาวจรภูมิ ภูมิของผู้ท่องเที่ยว ในอรูปภพ ๔. โลกุตรภูมิภูมิอันพ้นจากโลก.
  7. ฌาน : [ชาน] น. ภาวะที่จิตสงบแน่วแน่เนื่องมาจากการเพ่งอารมณ์, การเพ่ง อารมณ์จนจิตแน่วแน่เป็นสมาธิ, เรียกลักษณะการทําจิตให้สงบตาม หลักทางศาสนาว่า เข้าฌาน เช่น พระเข้าฌาน ฤษีเข้าฌาน, โดย ปริยายหมายถึงนั่งหลับหรือนั่งเหม่อใจลอยไม่รับรู้อะไร เรียกว่า เข้าฌาน, ฌานนั้นจัดเป็น ๔ ชั้น เรียกชื่อตามลําดับที่ประณีตขึ้นไป กว่ากัน คือ ปฐมฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๑ มีองค์ ๕ คือ ยังมีตรึก ซึ่งเรียก ว่า วิตก มีตรอง ซึ่งเรียกว่า วิจาร เหมือนอารมณ์แห่งจิตของคนสามัญ มีปีติ คือความอิ่มใจ มีสุข คือความสบายใจอันเกิดแต่วิเวกคือความ เงียบ และประกอบด้วยจิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งลงไปซึ่งเรียกว่า เอกัคตา, ทุติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๒ มีองค์ ๓ คือ ละวิตกวิจารเสียได้ คงอยู่แต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิกับเอกัคตา, ตติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๓ มีองค์ ๒ คือ ละปีติเสียได้ คงอยู่แต่สุขกับเอกัคตา, จตุตถฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๔ มีองค์ ๒ เหมือนกัน ละสุขเสียได้ กลายเป็นอุเบกขาคือเฉย ๆ กับเอกัคตา, ฌานทั้ง ๔ นี้จัดเป็นรูปฌาน เป็นรูปสมาบัติ มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ สงเคราะห์เข้าในรูปาวจรภูมิ. (ป.; ส. ธฺยาน).

Budhism Thai-Thai Dict : ปาพ, 8 found, display 1-8
  1. รูปาวจร : ซึ่งท่องเที่ยวไปในรูป, อยู่ในระดับจิตชั้นรูปฌาน, ระดับที่มีรูปธรรมเป็นอารมณ์, เนื่องในภพ
  2. จิต : ธรรมชาติที่รู้อารมณ์, สภาพที่นึกคิด, ความคิด, ใจ; ตามหลักฝ่ายอภิธรรม จำแนกจิตเป็น ๘๙ (หรือพิสดารเป็น ๑๒๑) แบ่ง โดยชาติ เป็นอกุศลจิต ๑๒ กุศลจิต ๒๑ (พิสดารเป็น ๓๗) วิปากจิต ๓๖ (๕๒) และ กิริยาจิต ๒๐; แบ่ง โดยภูมิ เป็นกามาวจรจิต ๕๔ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปาวจรจิต ๑๒ และโลกุตตรจิต ๘ (พิสดารเป็น ๔๐)
  3. ภูมิ : 1.พื้นเพ, พื้น, ชั้น, ที่ดิน, แผ่นดิน 2.ชั้นของจิต, ระดับจิตใจ, ระดับชีวิต มี ๔ คือ ๑.กามาวจรภูมิ ชั้นที่ยังท่องเที่ยวอยู่ในกาม ๒.รูปาวจรภูมิ ชั้นที่ท่องเที่ยวอยู่รูป หรือชั้นของพวกที่ได้รูปฌาน ๓.อรูปาวจรภูมิ ชั้นที่ท่องเที่ยวอยู่อรูป หรือชั้นของพวกที่ได้อรูปฌาน ๔.โลกุตตรภูมิ ชั้นที่พ้นโลก หรือระดับพระอริยบุคคล
  4. มหรคต : “อันถึงความเป็นสภาพใหญ่” “ซึ่งถึงความยิ่งใหญ่” หรือ “ซึ่งดำเนินไปด้วยฉันทะวิริยะจิตตะและปัญญาอย่างใหญ่” คือ เข้าถึงฌาน, เป็นรูปาวจร หรืออรูปาวจร, ถึงระดับวิกขัมภนวิมุตติ (เขียนอย่างบาลีเป็น มหัคคตะ)
  5. โลกิยะ : เกี่ยวกับโลก, ทางโลก, เนื่องในโลก, เรื่องของชาวโลก, ยังอยู่ในภพ ๓, ยังเป็นกามาวจร รูปาวจร หรืออรูปาวจร; คู่กับ โลกุตตระ
  6. โลกีย์ : เกี่ยวกับโลก, ทางโลก, เนื่องในโลก, เรื่องของชาวโลก, ยังอยู่ในภพ ๓, ยังเป็นกามาวจร รูปาวจร หรืออรูปาวจร; คู่กับ โลกุตตระ
  7. โลกุตตรภูมิ : ชั้นที่พ้นจากโลก, ระดับจิตใจของพระอริยเจ้า (ข้อ ๔ ในภูมิ ๔ อีก ๓ ภูมิ คือ กามวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ)
  8. สุทธาวาส : ที่อยู่ของท่านผู้บริสุทธิ์คือที่เกิดของพระอนาคามี ได้แก่พรหม ๕ ชั้นที่สูงสุดในขั้นรูปาวจร คืออวิหา อตัปปา สุทัสสา สุทัสสี อกนิฏฐา

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปาพ, more than 5 found, display 1-5
  1. ปาวฏ, ปาวต : ค. ขวนขวายแล้ว
  2. ปาวทติ : ก. พูด, บอก, แสดง
  3. กปฺปาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกัป, กาลสุดแห่งกัป, ที่สุดแห่งกัป, กาลเป็นที่ สุดแห่งกัป, กัลปาวสาน. ส. กลฺปาวสาน.
  4. นิปฺปาว : (ปุ.) การฝัด. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, โณ.
  5. นิปาว นิปฺปาว : (ปุ.) การฝัด, การชำระ, การทำให้บริสุทธิ์. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, โณ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ปาพ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ปาพ, not found

(0.1102 sec)