Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ป่ง , then บ่ง, ปง, ป่ง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ป่ง, more than 7 found, display 1-7
  1. be marked with : (PHRV) ; บ่งบอกถึง ; Related:แสดงร่องรอยของ
  2. indicative : (ADJ) ; ซึ่งบ่งบอก ; Related:ซึ่งบ่งชี้, ซึ่งแสดงออก ; Syn:demonstrative, designative
  3. bulge out : (PHRV) ; ป่ง ; Related:พองออก, พอง, ป่อง
  4. demonstrative : (N) ; คำบ่งชี้ ; Related:คำสรรพนามที่ระบุว่าคน สัตว์ สิ่งของนั้นๆ แตกต่างจากสิ่งอื่น ; Syn:determiner
  5. determiner : (N) ; คำบ่งชี้ (เช่น a หรือ the) ซึ่งใช้นำหน้าคำนาม ; Syn:determinative
  6. manifestation : (N) ; ข้อบ่งชี้ ; Related:อาการแสดง ; Syn:symtom
  7. murmur : (N) ; เสียงเต้นผิดปกติของหัวใจซึ่งบ่งบอกถึงความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (ทางการแพทย์) ; Related:เสียงเมอร์เม่อร์
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ป่ง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ป่ง, more than 7 found, display 1-7
  1. บ่ง : (V) ; prick ; Related:pick off ; Syn:เขี่ย, สะกิด ; Def:ใช้ของแหลมๆ แทงที่เนื้อเพื่อเอาหนามเป็นต้นที่ฝังอยู่ในเนื้อหรือหนองออก ; Samp:แม่ใช้เข็มบ่งหนามออกจากเท้าจนน้องร้องเสียงดัง
  2. บ่ง : (V) ; indicate ; Related:point out, show, point to ; Syn:ชี้, บอก, แสดง, ระบุ ; Samp:มดแดงไม่ใช่มดดำเพราะมันมีรูปร่างและลักษณะปรากฏเด่นบ่งให้เห็นว่าไม่เหมือนกัน
  3. บ่ง : (V) ; refer ; Related:mention ; Syn:ชี้, ระบุ, บอก ; Samp:การที่จะบ่งความถูกผิดของสองฝ่ายจะต้องดูความเหมาะสมของเหตุผลด้วย
  4. บ่งบอกถึง : (V) ; imply ; Related:refer to ; Syn:บ่งถึง ; Samp:อายุนั้นบ่งบอกถึงประสบการณ์ของชีวิต และเป็นตัวที่สามารถกำหนดการตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล
  5. บ่งชัด : (V) ; indicate ; Related:reveal, point out, point to, show ; Syn:ชี้ชัด, ระบุชัด ; Samp:ยังไม่มีหลักฐานบ่งชัดว่าคลื่นแม่เหล็กจากจอภาพเป็นภัยต่อสุขภาพของผู้ใช้
  6. บ่งชี้ : (V) ; indicate ; Related:point out, show, point to, specify ; Syn:ชี้, ระบุ ; Def:ชี้ให้เห็นชัด ; Samp:ผู้วิจัยไม่อาจบ่งชี้ถึงสาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดอัตราการแท้งลูกเพิ่มสูงขึ้น
  7. บ่งบอก : (V) ; indicate ; Related:point to, show, tell ; Syn:ชี้, แสดง ; Samp:การแต่งกายบ่งบอกบุคลิกภาพของแต่ละคน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ป่ง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ป่ง, more than 5 found, display 1-5
  1. ป่ง : น. พื้นดินที่มีเกลือสินเธาว์ผุดเกรอะกรังอยู่, ป่าหรือดินที่มีป่ง เรียกว่า ป่าป่ง ดินป่ง, เรียกผีที่มีอยู่ในที่เช่นนั้นว่า ผีป่ง, เรียกลักษณะที่นั่งห้างคอยยิงสัตว์ที่มากินดินป่งว่า นั่งป่ง; (ถิ่น-พายัพ) ที่ริมฝั่งน้ำ, ที่ลุ่มน้ำขัง, ปง หรือ โป่ง ก็ว่า.
  2. ปง ๒ : (ถิ่น-พายัพ) น. ที่ริมฝั่งน้ำ, ที่ลุ่มน้ำขัง, ป่ง หรือ โป่ง ก็ว่า.
  3. ป่ง : น. ลักษณะของสิ่งที่พองด้วยลมหรือแก๊ส เช่น ลูกโป่ง; พื้นดินที่มี เกลือสินเธาว์ผุดเกรอะกรังอยู่, ป่าหรือดินที่มีโป่ง เรียกว่า ป่าโป่ง ดินโป่ง, เรียกผีที่มีอยู่ในที่เช่นนั้นว่า ผีโป่ง, เรียกลักษณะที่นั่งห้าง คอยยิงสัตว์ที่มากินดินโป่งว่า นั่งโป่ง, ป่ง ก็ว่า; เรียกพื้นดินที่มีนํ้าผุด พุขึ้นมาว่า โป่งน้ำ โป่งนํ้า และเรียกนํ้าที่ผุดพุขึ้นมานั้นว่า นํ้าโป่ง; (ถิ่น-พายัพ) ที่ริมฝั่งน้ำ, ที่ลุ่มน้ำขัง, ปง หรือ ป่ง ก็ว่า. โป่งค่าง น. สัตว์ชนิดหนึ่งมีรูปร่างคล้ายค่างแต่ใหญ่กว่ามาก ชอบ ออกมาดูดเลือดที่หัวแม่เท้าของคนที่นอนหลับพักแรมในป่า เชื่อกัน ว่าเป็นผีโป่งชนิดหนึ่ง.
  4. บ่ง : ก. ชี้, ระบุ, อ้างหรือแสดงให้รู้โดยเจาะจง, เช่น การกระทําของเขา บ่งชัดอยู่แล้วว่าเขาเป็นผู้กระทําผิด; ใช้ของแหลม ๆ แทงที่เนื้อเพื่อ เอาหนามเป็นต้นที่ฝังอยู่ในเนื้อหรือหนองออก เช่น บ่งหนาม บ่งหนอง.
  5. ปง ๑, ปงปัง : ว. เสียงดังเช่นนั้น.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ป่ง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ป่ง, 1 found, display 1-1
  1. วจนะ : คำพูด; สิ่งที่บ่งจำนวนนามทางไวยากรณ์ เช่น บาลีมี ๒ วจนะ คือ เอกวจนะ บ่งนามจำนวนเพียงหนึ่ง และ พหุวจนะ บ่งนามจำนวนตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป

ETipitaka Pali-Thai Dict : ป่ง, 7 found, display 1-7
  1. กิตฺติน : (นปุ.) การระบุ, การบ่ง, การทัก. กิตฺต สํสนฺทเน, อิโน.
  2. จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
  3. ทีเปติ : ก. จุดไฟ, ส่อง, ส่องแสง, บ่งถึง, ชี้แจง, อธิบาย
  4. ปริณาม ปรินาม : (ปุ.) การน้อมไป, การน้อม มา แปลได้ทั้งไปและมา แล้วแต่เนื้อความจะบ่ง, การย่อยไป, ความน้อมไป, ความน้อมมา. ณ ปัจ.
  5. พหุวจน : (นปุ.) คำพูดมาก, คำพูดบ่งถึงของมาก, คำ พูดสำหรับของมาก, คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง, พหูพจน์.
  6. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  7. สูจน : (นปุ.) การแต่ง, ฯลฯ, คำชี้แจง, คำประกาศ, คำแสดง, คำบ่ง, คำระบุ, การส่อเสียด, คำส่อเสียด. ยุ ปัจ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ป่ง, not found

(0.1265 sec)