Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ผู้เดียว .

Eng-Thai Lexitron Dict : ผู้เดียว, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ผู้เดียว, 5 found, display 1-5
  1. ผู้เดียว : (ADV) ; only ; Syn:คนเดียว ; Def:เพียงคนเดียวเท่านั้นไม่มีคนอื่นอีก ; Samp:ทุกอย่างขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของคุณผู้เดียว
  2. เดี่ยว : (ADV) ; solo ; Related:alone ; Syn:เดียว, ลำพัง, คนเดียว, โดดเดี่ยว, โดด, ฝ่ายเดียว, ข้างเดียว, ผู้เดียว ; Def:ไม่มีผู้อื่นหรือสิ่งอื่นร่วมด้วย ; Samp:เขาบินเดี่ยวไปอเมริกา
  3. เดี่ยว : (ADJ) ; alone ; Related:single, sole ; Syn:เดียว, ลำพัง, คนเดียว, โดดเดี่ยว, โดด, ฝ่ายเดียว, ข้างเดียว, ผู้เดียว ; Def:ไม่มีผู้อื่นหรือสิ่งอื่นร่วมด้วย ; Samp:ครอบครัวไทยในปัจจุบันเป็นครอบครัวเดี่ยวที่มีแต่พ่อแม่ลูก
  4. เพียงผู้เดียว : (ADV) ; only ; Related:solely ; Syn:เพียงคนเดียว, ผู้เดียว, คนเดียว ; Def:เพียงคนเดียวเท่านั้นไม่มีผู้อื่นอีก ; Samp:เวลานี้มีเขาอยู่เพียงผู้เดียวที่จะช่วยกอบกู้สถานะของครอบครัวได้
  5. เพียงลำพัง : (ADV) ; alone ; Related:solely, by oneself, on one's tod ; Syn:เพียงผู้เดียว, เพียงคนเดียว, ผู้เดียว, คนเดียว ; Def:เพียงเฉพาะตนเท่านั้นไม่เกี่ยวกับผู้อื่น ; Samp:ผู้ต้องหาลงมือฆ่าผู้ตายเพียงลำพังเท่านั้น

Royal Institute Thai-Thai Dict : ผู้เดียว, not found

Budhism Thai-Thai Dict : ผู้เดียว, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ผู้เดียว, 5 found, display 1-5
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. เอกจฺจ : (วิ.) หนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, บางคน, บางพวก, บางอย่าง, วังเวง, ไม่มีเพื่อน, โดดเดี่ยว, ฯลฯ. เอโก เอว เอกจฺโจ. เอก ศัพท์ จฺจ ปัจ.
  3. เอกก : (วิ.) ผู้เดียว, ผู้ผู้เดียว, วังเวง, ไม่มี เพื่อน, ตัวคนเดียว, ก ปัจ. ลงในอรรถว่า ไม่มีเพื่อน อสหายตฺเถ กปจฺจโย. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
  4. เอกจฺจิก : ค. ผู้เดียว, สิ่งเดียว
  5. เอกากี : (วิ.) ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เปล่าเปลี่ยว. เอกศัพท์ อากี ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๕.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ผู้เดียว, not found

(0.0238 sec)