Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พูดจา .

Eng-Thai Lexitron Dict : พูดจา, more than 7 found, display 1-7
  1. outspoken : (ADJ) ; พูดจาเปิดเผย ; Related:พูดจาขวานผ่าซาก, โผงผาง ; Syn:direct, frank, candid ; Ant:insincere, cautious
  2. pontificate : (VI) ; พูดจาหยิ่งยโส ; Related:พูดจาแบบชอบวางท่า
  3. palaver : (VI) ; พูดจาไร้สาระ ; Syn:flatter
  4. yack : (VI) ; พูดจาเรื่อยเปื่อยและไร้สาระ (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:พูดยืดยาวและไร้สาระ
  5. yak 2 : (VI) ; พูดจาเรื่อยเปื่อยและไร้สาระ
  6. yawp : (VI) ; พูดจาหยาบคายและเสียงดัง
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : พูดจา, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : พูดจา, more than 7 found, display 1-7
  1. พูดจา : (V) ; speak ; Related:confer ; Syn:เจรจา, พูด, พูดคุย ; Def:พูดคุยหรือปรึกษาหารือกัน ; Samp:ฉันว่าเรามาพูดจากันให้รู้เรื่องไปเลย ดีกว่าปล่อยคาไว้แบบนี้
  2. เจรจา : (V) ; negotiate ; Related:converse, discuss, talk, confer ; Syn:พูด, พูดจา, สนทนา ; Def:พูดจากันอย่างเป็นทางการ ; Samp:เราต้องเจรจาด้วยถ้อยคำสุภาพอ่อนน้อมไม่แสดงอาการเย่อหยิ่งจองหองหรืออวดดี
  3. โผงผาง : (ADV) ; outspokenly ; Related:straightforwardly, frankly, bluntly ; Syn:พูดโพล่ง, พูดตรงไปตรงมา, พูดจาเปิดเผย ; Def:ลักษณะการพูดตรงๆ ไม่เกรงใจ ; Samp:ท่านมีนิสัยพูดจาโผงผางตรงไปตรงมาเพราะท่านเคยเป็นทหารมาก่อน
  4. เกลี่ยไกล่ : (V) ; reconcile ; Related:mediate, harmonize, arrange for agreement, settle matter ; Syn:ไกล่เกลี่ย ; Def:พูดจาให้ตกลงกัน, พูดให้ปรองดองกัน ; Samp:ปัญหาสันติภาพในตะวันออกกลางครั้งนี้ สหรัฐไม่ได้เป็นนายหน้าหรือตัวกลางเจรจาไกล่เกลี่ยให้แก่ยิวหรืออาหรับอีกต่อไป
  5. ไกล่เกลี่ย : (V) ; reconcile ; Related:conciliate, arbitrate, mediate, smooth, make peace, patch up ; Syn:ประนีประนอม ; Def:พูดจาให้ปรองดองกัน, พูดจาให้ตกลงกัน ; Samp:ตำรวจกำลังไกล่เกลี่ยคู่กรณี
  6. ติดต่อสื่อสาร : (V) ; communicate ; Related:contact ; Syn:สื่อสาร, ติดต่อ ; Def:พูดจาตกลงกันเพื่อความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ; Samp:ที่ประชุมมีมติให้พนักงานในกลุ่มติดต่อสื่อสารกันเอง และร่วมงานกันทำให้งานได้ผลยิ่งขึ้น
  7. ปากคม : (ADJ) ; sharp-tongued ; Def:พูดจาเสียดแทงใจ ; Samp:ผู้หญิงคนนั้นเป็นคนปากคม พูดไม่เกรงใจใคร
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : พูดจา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : พูดจา, more than 5 found, display 1-5
  1. พูดจา : ก. พูด.
  2. พูด : ก. เปล่งเสียงออกเป็นถ้อยคํา, พูดจา ก็ว่า.
  3. ดูหมิ่น ๒, ดูหมิ่นถิ่นแคลน : ก. แสดงกิริยาท่าทาง พูดจา หรือเขียนเป็นลาย ลักษณ์อักษรเป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะตํ่าต้อย หรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, หมิ่น ก็ว่า.
  4. นุ่มนวล : ว. อ่อนหวาน, อ่อนโยน, ละมุนละไม, เพราะพริ้ง, เช่น พูดจา นุ่มนวล กิริยาท่าทางนุ่มนวล.
  5. เลื่อนลอย : ว. ไม่คงที่, ไม่แน่นอน, เช่น ความฝันเลื่อนลอย พูดจา เลื่อนลอยไม่มีหลักฐาน สติเลื่อนลอย ข้อกล่าวหาเลื่อนลอย.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : พูดจา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : พูดจา, 5 found, display 1-5
  1. ปิยวาจา : วาจาเป็นที่รัก, พูดจาน่ารัก น่านิยมนับถือ, วาจาน่ารัก, วาจาที่กล่าวด้วยจิตเมตตา, คำที่พูดด้วยความรักความปรารถนาดี เช่น คำพูดสุภาพอ่อนโยน คำแนะนำตักเตือนด้วยความหวังดี ดู สังคหวัตถุ
  2. ภาษา : เสียงหรือกิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจซึ่งกันและกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน, คำพูด
  3. มูควัตร : ข้อปฏิบัติของผู้ใบ้, ข้อปฏิบัติของผู้เป็นดังคนใบ้, การถือไม่พูดจากันเป็นวัตรของเดียรถีย์อย่างหนึ่ง มีพุทธบัญญัติห้ามไว้มิให้ภิกษุถือ เพราะเป็นการเป็นอยู่อย่างปศุสัตว์
  4. สังคหวัตถุ : เรื่องสงเคราะห์กัน, คุณเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้, หลักการสงเคราะห์ คือ ช่วยเหลือกันยึดเหนี่ยวใจกันไว้ และเป็นเครื่องเกาะกุมประสานโลกคือสังคมแห่งหมู่สัตว์ไว้ ดุจสลักเกาะยึดรถที่กำลังแล่นไปให้คงเป็นรถและวิ่งแล่นไปได้ มี ๔ อย่าง คือ ๑.ทาน การแบ่งปันเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน ๒.ปิยวาจา พูดจาน่ารักน่านิยมนับถือ ๓.อัตถจริยา บำเพ็ญประโยชน์ ๔.สมานัตตตา ความมีตนเสมอ คือทำตัวให้เข้ากันได้ เช่น ไม่ถือตัว ร่วมสุขร่วมทุกข์กัน เป็นต้น
  5. สากัจฉา : การพูดจา, การสนทนา

ETipitaka Pali-Thai Dict : พูดจา, 6 found, display 1-6
  1. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  2. ปตฺถทฺธ : (วิ.) ปั้นปึ่ง (วางท่าเฉยไม่พูดจา), เย่อหยิ่ง, ไม่พอใจ, ไม่ใยดีด้วย. ป + ถทฺธ ศัพท์ ซ้อน ตฺ.
  3. มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
  4. สลฺลาป : (ปุ.) การกล่าวกับ, การกล่าวด้วยดี, การกล่าวด้วยดีต่อกัน, การพูดจากัน, การสนทนา, การเจรจาปราศรัย, คำอ่อนหวาน. วิโรธรหิตํ วจนํ สลฺลาโป. สํปุพฺโพ, ลปฺ วาเ กฺย, โณ.
  5. อปฺปฏิภาณ : (วิ.) ไม่พูดจา, ไม่มีไหวพริบ.
  6. อุปวฺหย : (ปุ.) การเจรจากัน, การพูดจากัน. อุป อา ปุพฺโพ, เวฺห อวฺหาเณ, โย.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : พูดจา, not found

(0.0479 sec)