Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษาละติน, ละติน, ภาษา , then ภาษ, ภาษา, ภาษาละติน, ภาสา, ลตน, ละติน, ลาติน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาละติน, more than 7 found, display 1-7
  1. annum : (N) ; ปี (ภาษาละติน)
  2. id est : (ADV) ; กล่าวคือ (ภาษาละติน) ; Related:นั่นคือ, กล่าวได้ว่า ; Syn:i.e, that is to say
  3. in esse : (ADJ) ; ตามความจริง (ภาษาละติน) ; Related:ตามจริง ; Syn:existent, ontic, real
  4. in extremis : (ADV) ; ใกล้ตาย (ภาษาละติน) ; Related:ขั้นสุดท้าย, ตอนปลาย
  5. v.i. : (ABBR) ; ดูคำอธิบายด้านล่าง (คำย่อ Vide infra) (ภาษาละติน) ; Related:คำย่อบอกให้ผู้อ่านดูคำอธิบายด้านล่างของหน้าหนังสือ ; Syn:see below
  6. Latin : (N) ; ภาษาโรมันโบราณ ; Related:ภาษาละติน
  7. language : (N) ; ภาษา ; Syn:speech, dialect
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาละติน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาละติน, more than 7 found, display 1-7
  1. ภาษาละติน : (N) ; Latin ; Samp:ฝิ่นได้มาจากยางผลไม้ชนิดหนึ่งซึ่งมีชื่อตามภาษาละตินว่า ปะปาเวอซัมนิฟีรัม
  2. ละติน : (N) ; Latin ; Syn:ภาษาละติน, ลาติน ; Def:ภาษาที่ใช้ในกรุงโรมและอาณาจักรโรมันโบราณ
  3. ภาษา : (N) ; language ; Related:speech, words ; Syn:คำพูด ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม
  4. ภาษามนุษย์ : (N) ; human language ; Syn:ภาษา ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:นักภาษาศาสตร์คือผู้ที่ศึกษาภาษามนุษย์โดยไม่จำกัดว่าเป็นภาษาอะไร
  5. ภาษาคน : (N) ; human speech ; Related:human tongue, human language ; Syn:ภาษามนุษย์ ; Ant:ภาษาสัตว์ ; Samp:สัตว์ที่ถูกฝึกดีมักจะฟังภาษาคนรู้เรื่อง ; Unit:ภาษา
  6. ภาษาปาก : (N) ; colloquialism ; Related:colloquial expression, spoken language ; Syn:ภาษาพูด ; Def:ภาษาหรือระเบียบคำที่พูดกันธรรมดาโดยไม่ได้เคร่งครัดกับไวยากรณ์อย่างภาษาหนังสือ ; Samp:ภาษาที่เราใช้พูดในชีวิตประจำวันเป็นภาษาปากที่ไม่ต้องพิถีพิถันเลือกใช้คำมากนัก ; Unit:ภาษา
  7. ภาษาเขียน : (N) ; written language ; Syn:ภาษาทางการ, ภาษาสุภาพ ; Def:ภาษาที่ใช้ในงานเขียนซึ่งเป็นทางการมากกว่าภาษาพูด ; Samp:เขาใช้ภาษาเขียนมากเกินกว่าเหตุไปหลายครั้งทำให้เรื่องไม่มีสีสันเท่าไหร่ ; Unit:ภาษา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาละติน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาละติน, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.
  2. ภาษามีวิภัตติปัจจัย : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัย ประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดง เพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์ กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีก โบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. (อ. inflectional language).
  3. ภาษาคำควบมากพยางค์ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบ หน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาว หลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. (อ. polysynthetic language).
  4. ภาษาคำโดด : น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยน แปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่อง กับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำ สองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. (อ. isolating language).
  5. ภาษาคำติดต่อ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำ บางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยว เนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. (อ. agglutinative language).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาละติน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาละติน, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : เสียงหรือกิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจซึ่งกันและกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน, คำพูด
  2. ภาษามคธ : ภาษาที่ใช้พูดในแคว้นมคธ, ภาษาของชาวแคว้นมคธ หมายถึง ภาษาบาลี
  3. มคธภาษา : ภาษาของชนชาวมคธ, ภาษาของชนผู้อยู่ในแคว้นมคธ
  4. ปฏิสัมภิทา : ความแตกฉาน, ความรู้แตกฉาน, ปัญญาแตกฉาน มี ๔ คือ ๑.อัตถปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในอรรถ ๒.ธัมมปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในธรรม ๓.นิรุตติปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในนิรุกติ คือ ภาษา ๔.ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ
  5. กามารมณ์ : 1.อารมณ์ที่น่าใคร่ น่าปรารถนา หมายถึง รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ได้แก่กามคุณ ๕ นั่นเอง 2.ภาษาไทย มักหมายถึงความรู้สึกทางกาม
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาละติน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาละติน, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. ตนฺติภาสา : (อิต.) ภาษันแบบแผน, ถาษาที่มี แบบแผน. เช่น ภาษามคธ สันสกฤต และละติน.
  3. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  4. ภารตี : (อิต.) ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, ภารดี.
  5. วาณี : อิต. ถ้อยคำ, ภาษา
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาละติน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภาษาละติน, 4 found, display 1-4
  1. รู้ภาษาบาลี : ปาลิภาสาชนนกา
  2. ผู้ฉลาดในภาษา : นิรุตฺติกุสโล
  3. อนุรักษ์ภาษาไทย : ทยฺยภาสารกฺข
  4. สันสฤต : สกฺกฏภาษา

(0.2045 sec)