Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษาศาสตร์ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาศาสตร์, more than 7 found, display 1-7
  1. linguistics : (N) ; ภาษาศาสตร์
  2. linguist : (N) ; นักภาษาศาสตร์ ; Related:ผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาษาศาสตร์
  3. denotation : (N) ; ความหมายตรง (ทางภาษาศาสตร์) ; Related:ความหมายหลัก, ความหมายพื้นฐาน ; Syn:signification, reference
  4. derivative : (N) ; คำที่สร้างจากคำอื่น (ทางภาษาศาสตร์) ; Related:คำที่กลายมา ; Syn:doublet, paronym
  5. derive : (VI) ; กลายมาจาก (ทางภาษาศาสตร์) ; Related:กำเนิดจาก, กลายมา, กำเนิดจาก ; Syn:arise, descend, originate, stem
  6. derive : (VT) ; กลายมาจาก (ทางภาษาศาสตร์) ; Related:กำเนิดจาก, กลายมา, กำเนิดจาก ; Syn:arise, descend, originate, stem
  7. elision : (N) ; การละสระ พยัญชนะหรือพยางค์ในการออกเสียงหรือเขียน (ทางภาษาศาสตร์)
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาศาสตร์, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาศาสตร์, more than 7 found, display 1-7
  1. ภาษาศาสตร์ : (N) ; linguistics ; Related:philology ; Def:วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่างๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ ; Samp:พื้นฐานของการวิจัยนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ภาษาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
  2. นักภาษาศาสตร์ : (N) ; linguist ; Def:ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาภาษา โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ ; Samp:อาจารย์พิณทิพย์ ทวยเจริญเป็นนักภาษาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ; Unit:คน
  3. มนุษยศาสตร์ : (N) ; humanities ; Def:วิชาว่าด้วยคุณค่าทางจิตใจและงานของคน มีศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ศาสนา และปรัชญา ; Samp:วิชาปรัชญาเป็นวิชาแขนงหนึ่งในมนุษยศาสตร์
  4. แขนง : (N) ; field ; Related:department ; Syn:สาขา ; Def:ส่วนย่อยที่แยกออกจากส่วนใหญ่ ; Samp:วิชาสัทศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของภาษาศาสตร์
  5. ค่า : (N) ; value ; Related:worth, advantage ; Syn:คุณค่า, ประโยชน์ ; Def:คุณประโยชน์ในตัวของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งคิดเป็นเงินไม่ได้ ; Samp:นักภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีก็ให้ความรู้ที่มีค่าแก่นักภาษาศาตร์คอมพิวเตอร์อย่างมากมาย แต่บางครั้งก็ถูกมองข้ามความสำคัญไป
  6. เจ้าของภาษา : (N) ; native speaker ; Def:คนที่พูดภาษาใดภาษาหนึ่งตั้งแต่เกิดเรียกว่าคนนั้นเป็นเจ้าของภาษา ; Samp:นักภาษาศาสตร์ที่ศึกษาภาษาทั่วไปจะได้ข้อมูลส่วนใหญ่จากการซักถามเจ้าของภาษา
  7. ตลาดแรงงาน : (N) ; labor market ; Samp:ภาควิชาภาษาศาสตร์เริ่มค้นพบว่าสาขาวิชานี้ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ; Unit:แห่ง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาศาสตร์, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาศาสตร์, 3 found, display 1-3
  1. ภาษาศาสตร์ : น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บ และวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล.
  2. มนุษยศาสตร์ : [มะนุดสะยะ-, มะนุดสาด] น. วิชาว่าด้วยคุณค่าทาง จิตใจและงานของคนมีศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ศาสนา และปรัชญา. (ส. มนุษฺย+ศาสฺตฺร). (อ. humanities).
  3. ศิลปศาสตร์ : น. วิชาต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่วิชาทางเทคนิค หรือทาง อาชีพ เช่น ภาษาศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์; ตำราว่าด้วย วิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ เ๑. สูติ วิชาฟังสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชา เข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกาวิชากายบริหาร ๙.ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชา ดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์.

Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาศาสตร์, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาศาสตร์, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภาษาศาสตร์, not found

(0.0663 sec)