Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยืม , then ยม, ยืม .

Eng-Thai Lexitron Dict : ยืม, more than 7 found, display 1-7
  1. crash : (SL) ; ยืม
  2. charge : (VT) ; ยืม (หนังสือ) ; Related:ยืมหนังสือจากห้องสมุด ; Syn:borrow
  3. rob Peter to pay Paul : (IDM) ; หยิบยืมจากอีกคนไปให้อีกคน ; Related:ยืมจากคนนี้ไปใช้คนโน้น (อย่างไรก็ยังเป็นหนี้อยู่ดี)
  4. charge : (VT) ; ลงบันทึกการยืม ; Related:ลงบันทึกการยืมหนังสือ (จากห้องสมุด)
  5. loan to : (PHRV) ; ให้กู้ยืม ; Related:ให้ยืม ; Syn:lend to
  6. accommodate : (VT) ; ให้ยืมเงิน
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ยืม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ยืม, more than 7 found, display 1-7
  1. ยืม : (V) ; borrow ; Syn:ขอยืม ; Ant:คืน, ใช้คืน ; Def:ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของตน ; Samp:คำไทยของเราบางคำต้องยืมภาษาอื่นมาใช้ โดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต
  2. ยืม : (V) ; borrow ; Syn:ขอยืม ; Def:ใช้ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้
  3. ขอยืม : (V) ; borrow ; Syn:ยืม ; Ant:คืน ; Def:ขอสิ่งของหรือเงินทองมาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่ง แล้วคืนให้หรือใช้คืนภายหลัง ; Samp:นักศึกษาขอยืมหนังสือจากห้องสมุดได้ครั้งละ 2 อาทิตย์
  4. หยิบยืม : (V) ; borrow ; Syn:ยืม, ขอยืม ; Def:ยืมมาใช้ชั่วคราว ; Samp:แม่ต้องหยิบยืมเขาเป็นประจำเพราะเงินเดือนพ่อไม่เคยเหลือเลย
  5. ให้ยืม : (V) ; lend ; Ant:ยืม, ขอยืม ; Samp:เจ้าของร้านเอื้อเฟื้อให้ยืมสถานที่โดยไม่คิดค่าเช่า
  6. ให้ยืม : (V) ; lend ; Ant:ยืม, ขอยืม ; Samp:เจ้าของร้านเอื้อเฟื้อให้ยืมสถานที่โดยไม่คิดค่าเช่า
  7. ผู้ยืม : (N) ; borrower ; Syn:ผู้ขอยืม, คนยืม ; Ant:ผู้ให้ยืม ; Def:ผู้ที่นำของผู้อื่นมาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน ; Samp:เมื่อยืมหนังสือ ทุกคนจะต้องลงลายมือชื่อของผู้ยืมไว้ด้วยทุกครั้ง ; Unit:คน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ยืม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ยืม, more than 5 found, display 1-5
  1. ยืม : ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นําของของผู้อื่นมาใช้เป็นของตน เช่น ยืมคําในภาษาบาลีมาใช้ ยืม วัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ยืมความคิด; (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลข ตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนํามาลบ ให้นําเลขจากหลักสูงถัดไป มาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ขอยืม ก็ว่า.
  2. ยืมชื่อ : ก. อาศัยชื่อผู้อื่นไปเป็นประโยชน์ตน เช่น ยืมชื่อคนมีชื่อเสียง ไปอ้างเพื่อให้คนเชื่อถือ.
  3. ยืมปาก : ก. อาศัยผู้อื่นพูดแทน เช่น ยืมปากครูขออนุญาตพ่อแม่ไปทัศนาจร.
  4. ยืมมือ : ก. อาศัยผู้อื่นทำการแทน เช่น ยืมมือเขาไปล้างแค้น.
  5. ยืมจมูกคนอื่นหายใจ : (สํา) ก. อาศัยผู้อื่นทำงานให้มักไม่สะดวกเหมือน ทำด้วยตนเอง, พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ หรือ เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ยืม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ยืม, 9 found, display 1-9
  1. ยม : เทพผู้เป็นใหญ่ประจำโลกของคนตาย
  2. ตระบัด : ยืมของเขาไปแล้วเอาเสีย เช่น ขอยืมของไปใช้แล้วไม่ส่งคืน กู้หนี้ไปแล้วไม่ส่งต้นทุนและดอกเบี้ย
  3. สัมมาปาสะ : “บ่วงคล้องไว้มั่น”, ความรู้จักผูกผสานรวมใจประชาชน ด้วยการส่งเสริมอาชีพ เช่น ให้คนจนกู้ยืมทุนไปสร้างตัวในพาณิชยกรรม เป็นต้น (ข้อ ๓ ใน ราชสังคหวัตถุ ๔)
  4. ยมกะ : ชื่อภิกษุรูปหนึ่งที่มีความเห็นว่าพระขีณาสพตายแล้วสูญ ซึ่งเป็นความเห็นที่ผิด ภายหลังได้พบกับพระสารีบุตร พระสารีบุตรได้เปลื้องท่านจากความเห็นผิดนั้นได้
  5. พระยม : ดู ยม
  6. ดาวพระเคราะห์ : ในทางโหราศาสตร์ หมายถึงดาวทั้ง ๙ ที่เรียกว่า นพเคราะห์ คืออาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ; แต่ในทางดาราศาสตร์เรียก ดาวเคราะห์ หมายถึงดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มี ๙ ดวง คือ พุธ ศุกร์ โลก อังคาร พฤหัสบดี เสาร์ มฤตยู (ยูเรนัส) เกตุ หรือพระสมุทร (เนปจูน) พระยม (พลูโต)
  7. เทวทูต : ทูตของยมเทพ, สื่อแจ้งข่าวของมฤตยู, สัญญาที่เตือนให้ระลึกถึงคติ ธรรมดาของชีวิตมิให้มีความประมาท จัดเป็น ๓ ก็มี ได้แก่ คนแก่ คนเจ็บ และคนตาย, จัดเป็น ๕ ก็มี ได้แก่ เด็กแรกเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนถูกลงราชทัณฑ์ และคนตาย (เทวทูต ๓ มาในอังคุตตรนิกาย ติกนิบาต, เทวทูต ๕ มาในเทวทูตสูตร มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์); ส่วน เทวทูต ๔ ที่เจ้าชายสิทธัตถะพบก่อนบรรพชา คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย สมณะนั้น ๓ อย่างแรก เป็นเทวทูต ส่วนสมณะเรียกรวมเป็นเทวทูตไปด้วยโดยปริยาย เพราะมาในหมวดเดียวกัน แต่ในบาลี ท่านเรียกว่า นิมิต ๔ หาเรียกเทวทูต ๔ ไม่ อรรถกถาบางแห่งพูดแยกว่า พระสิทธัตถะเห็นเทวทูต ๓ และสมณะ (มีอรรถกถาแห่งหนึ่งอธิบายในเชิงว่าอาจเรียกทั้ง ๔ อย่างเป็นเทวทูตได้ โดยความหมายว่า เป็นของที่เทวดานิรมิตไว้ ระหว่างทางเสด็จของพระสิทธัตถะ)
  8. ปรินิพพานบริกรรม : การกระทำขั้นต้นก่อนที่จะปรินิพพาน, การเตรียมปรินิพพาน ในพุทธประวัติ ได้แก่ การทรงเข้าอนุปุพพวิหารสมาบัติก่อนแล้วเสด็จปรินิพพาน
  9. มฤตยุราช : ยมราช, พญายม, ความตาย (พจนานุกรม เขียน มฤตยูราช)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยืม, more than 5 found, display 1-5
  1. ยม : (ปุ.) ท้าวยม, พระยม, พระยายม, พญายม ยมราช ชื่อ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ประจำโลกของสัตว์นรก. ปชาสํยมนดต ยโม.
  2. ธมณฺณ : (ปุ.) คนผู้ยืม, ลูกหนี้. อิณ+ธร ลบ ร แปลง อิ เป็น อ กลับบท มฺ อาคม ซ้อน ณฺ หรือแปลง ร เป็น ม ไม่ต้องลง มฺ อาคม.
  3. ยาจิตก : นป. ของที่ยืมมา
  4. อิณ : (นปุ.) เงินค้าง, การให้ยืม, หนี้. วิ. เอติ วุฑฺฒึ คจฺฉตีติ อิณํ. อิ คติยํ, ยุ, นสฺส ณตฺตํ. (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ) อถวา, อิณุ คติยํ, อ. ส. ฤณ.
  5. อิณสามิก : ป. เจ้าหนี้, ผู้ให้ยืม
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ยืม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ยืม, 1 found, display 1-1
  1. สำรวม : สญฺญเมติ, สํยมติ

(0.1274 sec)