Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รอบรู้ .

Eng-Thai Lexitron Dict : รอบรู้, more than 7 found, display 1-7
  1. all-around : (ADJ) ; รอบรู้
  2. knowing : (ADJ) ; รอบรู้ ; Related:ฉลาด, พหูสูต ; Syn:wise
  3. kick all the tricks of the trade : (IDM) ; รอบรู้ในสิ่งที่จะทำ ; Related:เชี่ยวชาญในสิ่งที่ทำ
  4. sage 1 : (ADJ) ; ฉลาด ; Related:รอบรู้, ปราดเปรื่อง ; Syn:philosophic
  5. master : (VT) ; เข้าใจถ่องแท้ ; Related:รู้อย่างละเอียด, รอบรู้ ; Syn:learn, understand
  6. all-around : (ADV) ; อย่างรอบรู้ ; Syn:all in all
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : รอบรู้, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : รอบรู้, more than 7 found, display 1-7
  1. รอบรู้ : (V) ; expert ; Related:be skilled, be well-versed, be proficient ; Syn:รู้กว้าง ; Ant:รู้น้อย ; Def:รู้หลายอย่าง, รู้กว้างขวาง ; Samp:แพทย์ประจำตัวต้องเป็นผู้ที่รอบรู้เรื่องโรคทุกชนิด ทั้งอาการและการรักษา จะต้องรอบรู้เรื่องของคนไข้แต่ละคนว่ามีประวัติความเป็นมาอย่างไร
  2. รอบรู้ : (V) ; be omniscient ; Related:be well-read, be well-informed, be intelligent, be erudite, be proficient in, be well versed in ; Syn:รู้มาก, มีความรู้ ; Ant:รู้น้อย ; Def:รู้หลายอย่าง, รู้กว้างขวาง ; Samp:ท่านรอบรู้ในเรื่องกฎหมาย
  3. เจนจบ : (V) ; expert ; Related:be skilled, be well-versed, be proficient ; Syn:รอบรู้ ; Def:ได้พบได้เห็นมามาก, ชำนาญทั่ว ; Samp:ค่านิยมของคนไทยโบราณคืออยากให้ลูกชายเจนจบในวิชาชีพต่างๆ
  4. ความรอบรู้ : (N) ; omniscience ; Related:know-how, technical skill ; Syn:ความรู้ ; Samp:ทุกคนทึ่งในความรอบรู้ของผู้อำนวยการอย่างมาก จนไม่สงสัยเลยว่าทำไมจึงประสบผลสำเร็จในหน้าที่การงานตั้งแต่อายุยังน้อย
  5. ผู้รอบรู้ : (N) ; scholar ; Related:learned man, savant, intellectual ; Syn:ผู้รู้, นักปราชญ์ ; Def:บุคคลที่มีความรู้หลายอย่าง, บุคคลที่รู้กว้างขวางในเรื่องต่างๆ ; Samp:แพทย์ประจำตัวของเขาเป็นผู้รอบรู้เรื่องโรคทุกชนิด ; Unit:คน
  6. เก่ง : (ADV) ; excellently ; Related:expertly, proficiently, skilfully, brilliantly ; Syn:สามารถ, รอบรู้ ; Def:สามารถในทางใดทางหนึ่ง ; Samp:ผู้ใหญ่ไม่ควรคาดหวังให้สูงจากเด็ก เช่น ต้องเรียนเก่ง เพราะการคาดหวังทำให้ผู้เลี้ยงมีอารมณ์รุนแรงต่อเด็ก
  7. เก่ง : (V) ; be expert ; Related:be proficient, be good at, be skilful ; Syn:สามารถ, รอบรู้ ; Def:สามารถในทางใดทางหนึ่ง ; Samp:ผู้หญิงในสมัยก่อนถูกอบรมเลี้ยงดู เตรียมให้เป็นภรรยาที่ดี จึงต้องเก่งในการจัดบ้านและการครัว
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : รอบรู้, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : รอบรู้, more than 5 found, display 1-5
  1. รอบรู้ : ก. รู้หลายอย่าง, รู้กว้างขวาง, เช่น เขารอบรู้ในเรื่องกฎหมาย.
  2. เจนจบ : ว. ชํานาญทั่ว, รอบรู้, ได้พบได้เห็นมามาก.
  3. พิทูร : [พิทูน] ว. วิทูร, ฉลาด, รอบรู้, ชํานาญ. (ดู วิทูร).
  4. โกวิท : [-วิด] (แบบ) ว. ฉลาด, ชํานิชํานาญ, รอบรู้ในการอันใดอันหนึ่ง, เช่น อัศวโกวิท ว่า ผู้มีความชํานาญในเรื่องม้า. (ป., ส.).
  5. บัณฑิตย์ : [บันดิด] น. ความรอบรู้, การเรียน, ความเป็นบัณฑิต. (ส. ปาณฺฑิตฺย; ป. ปณฺฑิจฺจ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : รอบรู้, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : รอบรู้, 8 found, display 1-8
  1. โกศล : ความฉลาด, ความเชี่ยวชาญ มี ๓ คือ ๑.อายโกศล ความฉลาดในความเจริญ, รอบรู้ทางเจริญและเหตุของความเจริญ ๒.อปายโกศล ความฉลาดในความเสื่อม, รอบรู้ทางเสื่อมและเหตุของความเสื่อม ๓.อุปายโกศล ความฉลาดในอุบาย, รอบรู้วิธีแก้ไขเหตุการณ์และวิธีที่จะทำให้สำเร็จ ทั้งในการป้องกันความเสื่อมและในการสร้างความเจริญ
  2. โกสัลละ : ความฉลาด, ความเชี่ยวชาญ มี ๓ คือ ๑.อายโกศล ความฉลาดในความเจริญ, รอบรู้ทางเจริญและเหตุของความเจริญ ๒.อปายโกศล ความฉลาดในความเสื่อม, รอบรู้ทางเสื่อมและเหตุของความเสื่อม ๓.อุปายโกศล ความฉลาดในอุบาย, รอบรู้วิธีแก้ไขเหตุการณ์และวิธีที่จะทำให้สำเร็จ ทั้งในการป้องกันความเสื่อมและในการสร้างความเจริญ
  3. ปรีชา : ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความกำหนดรู้
  4. ปัญญา : ความรู้ทั่ว, ปรีชาหยั่งรู้เหตุผล, ความรู้ความเข้าใจชัดเจน, ความรู้ความเข้าใจหยั่งแยกได้ในเหตุผล ดีชั่ว คุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น และรู้ที่จะจัดแจง จัดสรร จัดการ, ความรอบรู้ในกองสังขาร มองเห็นตามความเป็นจริง ดู ไตรสิกขา, สิกขา
  5. ปัญญาสิกขา : สิกขา คือ ปัญญา, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมปัญญา เพื่อให้เกิดความรู้เข้าใจเหตุผล รอบรู้สิ่งที่เป็นประโยชน์ และไม่เป็นประโยชน์ตลอดจนรู้แจ้งสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ที่ถูกต้องเขียน อธิปัญญาสิกขา
  6. อริยวัฑฒิ : ความเจริญอย่างประเสริฐ, หลักความเจริญของอารยชน มี ๕ คือ ๑) ศรัทธา ความเชื่อความมั่นใจในพระรัตนตรัย ในหลักแห่งความจริงความดีงามอันมีเหตุผลและในการที่จะทำความดีงาม ๒) ศีล ความประพฤติดี มีวินัย เลี้ยงชีพสุจริต ๓) สุตะ การเล่าเรียนสดับฟังศึกษาหาความรู้ ๔) จาคะ ความเผื่อแผ่เสียสละน้ำใจและในกว้าง พร้อมที่จะรับฟังและร่วมมือ ไม่คับแคบเอาแต่ตัว ๕) ปัญญา ความรอบรู้ รู้คิด รู้พิจารณา เข้าใจเหตุผล รู้จักโลกและชีวิตตามความเป็นจริง
  7. อาเทสนาปาฏิหาริย์ : ปาฏิหาริย์ คือการหายใจ, รอบรู้กระบวนของจิต อ่านความคิดและอุปนิสัยของผู้อื่นได้เป็นอัศจรรย์ (ข้อ ๒ ในปาฏิหาริย์ ๓)
  8. อารยวัฒิ : ความเจริญอย่างประเสริฐ, หลักความเจริญของอารยชน มี ๕ คือ ๑) ศรัทธา ความเชื่อความมั่นใจในพระรัตนตรัย ในหลักแห่งความจริงความดีงามอันมีเหตุผลและในการที่จะทำความดีงาม ๒) ศีล ความประพฤติดี มีวินัย เลี้ยงชีพสุจริต ๓) สุตะ การเล่าเรียนสดับฟังศึกษาหาความรู้ ๔) จาคะ ความเผื่อแผ่เสียสละน้ำใจและในกว้าง พร้อมที่จะรับฟังและร่วมมือ ไม่คับแคบเอาแต่ตัว ๕) ปัญญา ความรอบรู้ รู้คิด รู้พิจารณา เข้าใจเหตุผล รู้จักโลกและชีวิตตามความเป็นจริง

ETipitaka Pali-Thai Dict : รอบรู้, 8 found, display 1-8
  1. ปริชานาติ : ก. รู้รอบ, รอบรู้
  2. สมฺปชาน : (วิ.) รู้ทั่วพร้อม, รู้รอบคอบ, รอบรู้, รู้สึกตัวรู้ตัว. วิ. สมฺปชานาตีติ สมฺปชาโน. สํ ป ปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ, ญาสฺส ชา.
  3. ตีรณปริญฺญา : (อิต.) ความรอบรู้อันเกิดจาก การตรวจตรา, ความรอบรู้อันเกิดเพราะ ความตรวจตรา, ฯลฯ, ความกำหนดรู้ด้วย การตรวจตรา, ฯลฯ.
  4. ทม : (ปุ.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, การฝึกสอน, การข่ม, การข่มขี่, การข่มใจ, การปราบ, การอดทน, ความทรมาน, ฯ ลฯ , อาชญา, การปรับไหม, ความรอบรู้, ปัญญา. วิ. ทมนํ ทโม. ทมฺ ทมเน, อ. ส. ทม.
  5. ทิสาจกฺขุก : ค. ผู้มีจักษุสอดส่องไปในทิศ, ผู้มีปัญญารอบรู้ทุกด้าน
  6. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  7. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  8. ปริญฺญาปตฺต : (นปุ.) แผ่นแสดงความรอบรู้, ปริญญาบัตร คือ บัตรที่แสดงวิทยฐานะ ของผู้สำเร็จการศึกษา มีศักดิ์และสิทธิ์ ระดับปริญญา.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : รอบรู้, not found

(0.0498 sec)