Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ล้วงกระเป๋า, กระเป๋า, ล้วง , then กระเป๋า, ลวง, ล้วง, ลวงกรปา, ล้วงกระเป๋า .

Eng-Thai Lexitron Dict : ล้วงกระเป๋า, more than 7 found, display 1-7
  1. pickpocket : (VT) ; ล้วงกระเป๋า ; Related:ขโมย
  2. fish out : (PHRV) ; ล้วง ; Related:ล้วงหา ; Syn:fish out
  3. fish up : (PHRV) ; ล้วง ; Related:ล้วงหา ; Syn:fish out
  4. pocket : (N) ; กระเป๋า ; Related:กระเป๋าเสื้อหรือกางเกง
  5. sky rocket : (SL) ; กระเป๋า
  6. dip : (N) ; นักล้วงกระเป๋า (คำสแลง) ; Related:คนล้วงกระเป๋า
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ล้วงกระเป๋า, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ล้วงกระเป๋า, more than 7 found, display 1-7
  1. ล้วงกระเป๋า : (V) ; pick (somebody's) pocket ; Def:สอดมือลักทรัพย์ในกระเป๋า
  2. ล้วง : (V) ; pick ; Related:put one's hand into ; Syn:ล้วงมือ, สอด ; Def:เอามือสอดเข้าไปในที่ซึ่งเป็นช่องเป็นรู, ตามปกติมักใช้เพื่อเอาสิ่งซึ่งอยู่ในช่องในรูออกมา ; Samp:การยืนคุยกับผู้ใหญ่แล้วล้วงกระเป๋ากางเกงนั้นเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ
  3. ล้วง : (V) ; delve ; Related:dig, draw out, elicit, extract ; Syn:ล้วงตับ, ล้วงไส้, ล้วงถาม, ลวงถาม ; Def:หยั่งเอาความรู้ความคิด ; Samp:ผมไม่อยากจะล้วงเอาความลับของใคร
  4. กระเป๋า : (N) ; bag ; Related:pocket, shopping bag ; Def:เครื่องใช้รูปคล้ายถุงหรือกระเพาะสำหรับใส่สิ่งของต่างๆ มีฝาปิดเปิดได้ มีหูสำหรับหิ้วหรือสะพาย ; Samp:กระเป๋ามีหลายแบบ เช่น กระเป๋าถือของผู้หญิง กระเป๋าใส่เสื้อผ้า กระเป๋าเอกสาร ; Unit:ใบ, ลูก
  5. นักล้วงกระเป๋า : (N) ; pickpocket ; Def:มิจฉาชีพที่คอยลักทรัพย์ในกระเป๋าโดยที่เจ้าของไม่รู้ตัว ; Samp:เขามีอาชีพเป็นนักล้วงกระเป๋า ; Unit:คน
  6. กระเป๋าเสื้อ : (N) ; pocket ; Samp:บรรดาผู้ชมล้วงลงกระเป๋าเสื้อเพื่อหาเศษเงินมาหย่อนลงขันของนักดนตรี ; Unit:กระเป๋า
  7. ควัก : (V) ; pick ; Syn:ล้วง ; Samp:เขาควักผ้าเช็ดหน้าออกมาจากกระเป๋าซับน้ำตาให้เธอ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ล้วงกระเป๋า, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ล้วงกระเป๋า, more than 5 found, display 1-5
  1. ล้วงกระเป๋า : ก. เอามือสอดเข้าไปในกระเป๋า, ถ้ายืนเอามือล้วง กระเป๋าเวลาอยู่ต่อหน้าผู้หลักผู้ใหญ่ถือว่าเป็นการแสดงกิริยาที่ ไม่สุภาพ; ลักทรัพย์ในกระเป๋าของผู้อื่น เช่น เขาถูกล้วงกระเป๋า ระวังถูกล้วงกระเป๋า.
  2. ล้วง : ก. เอามือสอดเข้าไปในที่ซึ่งเป็นช่องเป็นรู เช่น เดินเอามือล้วง กระเป๋ากางเกง, โดยปริยายหมายความว่า หยั่งเอาความรู้ความคิด ที่เขาปิดบังไว้ เช่น ล้วงความลับ ล้วงข้อสอบ.
  3. กระเป๋า : น. เครื่องใช้รูปคล้ายถุงหรือกระเพาะ ทําด้วยหนังบ้าง ผ้าบ้าง สําหรับใส่เงินหรือของต่าง ๆ ใช้คาดเอวก็มี ติดอยู่ในตัวเสื้อ หรือกางเกงก็มี ใช้หิ้วก็มี; กลีบดอกกล้วยไม้คล้ายรูปกรวยหรือ หลอดที่อยู่ตรงกลางเป็นที่อยู่ของเกสร, ปาก ก็เรียก; (ปาก) เรียกถุงหน้าท้องสำหรับใส่ลูกของสัตว์บางชนิดเช่นจิงโจ้ ม้าน้ำ.
  4. กระเป๋า : (ปาก) น. พนักงานเก็บค่าโดยสารรถหรือเรือประจำทาง.
  5. จก : ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย ทำอย่างนี้พรุ่งนี้ก็ไม่ได้สักหลุม, คุ้ย, สับ เช่น เอาจอบจกลงไปตรงนั้นซิ; เอาตัวมา เช่น คุณต้องไปจกตัวเขามาให้ได้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ล้วงกระเป๋า, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ล้วงกระเป๋า, 10 found, display 1-10
  1. พาหิย ทารุจีริยะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เกิดในครอบครัวคนมีตระกูลในแคว้นพาหิยรัฐ ลงเรือเดินทะเลเพื่อจะไปค้าขาย เรือแตกกลางทะเลรอดชีวิตไปได้ แต่หมดเนื้อหมดตัว ต้องแสดงตนเป็นผู้หมดกิเลสหลอกลวงประชาชนเลี้ยงชีวิต ต่อมาพบพระพุทธเจ้า ทูลขอให้ทรงแสดงธรรม พระองค์ทรงแสดงวิธีปฏิบัติต่ออารมณ์ที่รับรู้ทางอายตนะทั้ง ๖ พอจบพระธรรมเทศนาย่นย่อนั้น พาหิยะก็สำเร็จอรหัต แต่ไม่ทันได้อุปสมบท กำลังเที่ยวหาบาตรจีวร เผอิญถูกโคแม่ลูกอ่อนขวิดเอาสิ้นชีวิตเสียก่อน ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะทางด้านตรัสรู้ฉับพลัน
  2. มิจฉาอาชีวะ : เลี้ยงชีพผิด ได้แก่ หาเลี้ยงชีพในทางทุจริตผิดวินัยหรือผิดศีลธรรม เช่น หลอกลวงเขา เป็นต้น
  3. สัมมาอาชีวะ : เลี้ยงชีวิตชอบ คือเว้นจากเลี้ยงชีวิตโดยทางที่ผิด เช่น โกงเขาหลอกลวง สอพลอ บีบบังคับขู่เข็ญ ค้าคน ค้ายาเสพติด ค้ายาพิษ เป็นต้น (ข้อ ๕ ในมรรค)
  4. องคุลิมาล : พระมหาสาวกองค์หนึ่งของพระพุทธเจ้า เคยเป็นมหาโจรโด่งดังเป็นบุตรของภัคควพราหมณ์ ผู้เป็นปุโรหิตของพระเจ้าโกศล มารดาชื่อนางมันตานีพราหมณ์ เดิมชื่ออหิงสกะ (แปลว่าผู้ไม่เบียดเบียน) ไปศึกษาศิลปศาสตร์ในสำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา มีความรู้และความประพฤติดี เพื่อนศิษย์ด้วยกันริษยา ยุอาจารย์ให้กำจัดเสีย อาจารย์ลวงด้วยอุบายให้ไปฆ่าคนครบหนึ่งพัน แล้วจะมอบวิชาวิเศษอย่างหนึ่งให้ จึงกลายเป็นมหาโจรผู้โหดร้ายทารุณ ตัดนิ้วมือคนที่ตนฆ่าตายแล้ว ร้อยเป็นพวงมาลัย จึงได้ชื่อว่า องฺคุลิมาล (แปลว่ามีนิ้วเป็นมาลัย) ภายหลังพระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดกลับใจได้ ขอบวช ต่อมาก็ได้สำเร็จพระอรหัต ท่านเป็นต้นแห่งพุทธบัญญัติไม่ให้บวชโจรที่ขึ้นชื่อโด่งดัง
  5. อเนสนา : การหาเลี้ยงชีพในทางที่ไม่สมควรแก่ภิกษุ, เลี้ยงชีวิตผิดสมณะ เช่น หลอกลวงเขาด้วยการอวดอุตริมนุสธรรม ทำวิญญัติคือออกปากขอต่อคนที่ไม่ควรขอ ใช้เงินลงทุนหาผลประโยชน์ ต่อลาภด้วยลาภคือให้แต่น้อย เพื่อหวังตอบแทนมาก เป็นหมอเวทมนต์ เสกเป่า เป็นต้น
  6. อวหาร : การลัก, อาการที่ถือว่าเป็นการลักทรัพย์ ในอรรถกถาแสดงไว้ ๒๕ อย่าง พึงทราบในที่นี้ ๑๓ อย่าง คือ ๑) ลัก ๒) ชิงหรือวิ่งราว ๓) ลักต้อน ๔) แย่ง ๕) ลักสับ ๖) ตู่ ๗) ฉ้อ ๘) ยักยอก ๙) ตระบัด ๑๐) ปล้น ๑๑) หลอกลวง ๑๒) กดขี่หรือกรรโชก ๑๓) ลักซ่อน
  7. อสุรกาย : พวกอสูร, ภพแห่งสัตว์เกิดในอบายพวกหนึ่ง เป็นพวกสะดุ้ง หวาดหวั่นไร้ความรื่นเริง ถ้าเปรียบกับในโลกนี้ก็เหมือนดังคนอดอยาก เที่ยวทำโจรกรรมในเวลาค่ำคืน หลอกลวง ฉกชิงเอาทรัพย์ของผู้อื่น (ข้อ ๔ ใน อบาย ๔)
  8. อาชีวปาริสุทธิ : ความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ คือ เลี้ยงชีวิตโดยทางที่ชอบไม่ประกอบอเนสนา เช่น ไม่หลอกลวงเขาเลี้ยงชีวิต เป็นต้น (ข้อ ๓ ในปาริสุทธิศีล ๔)
  9. อาชีววิบัติ : เสียอาชีวะ, ความเสียหายแห่งการเลี้ยงชีพ คือ ประกอบมิจฉาอาชีวะมีหลอกลวงเขาเลี้ยงชีพ เป็นต้น (ข้อ ๔ ในวิบัติ ๔)
  10. อุชุปฏิปนฺโน : พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง คือไม่ลวงโลก ไม่มีมายาสาไถย ไม่อำพราง หรือดำเนินทางตรง คือ มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อ ๒ ในสังฆคุณ ๙)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ล้วงกระเป๋า, more than 5 found, display 1-5
  1. จิลฺลาภ : ป. คนล้วงกระเป๋า
  2. ปุฏ, ปุฏก : ป., นป. กระจาด, ตะกร้า, กระเช้า, กระเป๋า, ถุง, ห่อ
  3. จมฺมมญฺชุสา : (อิต.) กระเป๋าหนัง.
  4. ปสิพฺพก : ป. กระสอบ, กะทอ, ถุง, ย่าม, กระเป๋าถือ
  5. กูฏ : (วิ.) เลว, โกง, ปลอม, เก๊, เท็จ, หลอก ลวง. กูฏ เฉทเน วา, อ. ทีโฆ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ล้วงกระเป๋า, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ล้วงกระเป๋า, 1 found, display 1-1
  1. เกิน, ล่วง, ยิ่ง : อติ [อุป.]

(0.1888 sec)