Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: วสฺส , then พสฺส, วสส, วสฺส .

Eng-Thai Lexitron Dict : วสฺส, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : วสฺส, not found

Royal Institute Thai-Thai Dict : วสฺส, 9 found, display 1-9
  1. พรรษ, พรรษ : [พัด, พันสะ] น. ฝน; ปี. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส).
  2. วรรณศิลป์ : น. ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอ เป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์; วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับ ยกย่องว่าแต่งดี. [วันนะ] น. พรรณนา, การกล่าวถ้อยคําให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. (ส. วรฺณนา; ป. วณฺณนา). [วันนะพรึด] น. ฉันท์ที่กําหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียง หนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ. น. ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์; เลขานุการ. (ส. วรฺณิก). [วัดทะกะ] น. ผู้เจริญ. (ส. วรฺธก ว่า ผู้ทําให้เจริญ; ป. วฑฺฒก). [วัดทะนะ] น. ความเจริญ, ความงอกงาม. (ส. วรฺธน; ป. วฑฺฒน). [วัด] น. พรรษ, ฝน; ปี. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส). [วัดสา] น. พรรษา, ฤดูฝน; ปี. (ส.). [วะรันยู] น. ''ผู้ตรัสรู้ธรรมอันประเสริฐ'' คือ พระพุทธเจ้า. (ป.). (แบบ) น. ตุ่ม, ไห, หม้อนํ้า. ว. น่าเวทนา, น่าสงสาร. (ป., ส.). น. หญิงผู้ประเสริฐ. (ส.). น. หมู. (ป., ส.). น. พระพิรุณ, เทวดาแห่งนํ้า, เทวดาแห่งฝน. (ส.). ดู วร.[วะรูถะ] (แบบ) น. การป้องกัน, ที่ป้องกัน, ที่พัก, เครื่องป้องกัน, เกราะ, โล่. (ส.).
  3. วรรษ : [วัด] น. พรรษ, ฝน; ปี. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส).
  4. วัสคณนา : [วัดสะคะนะนา] น. การนับปี. (ป. วสฺส + คณนา).
  5. พรรษา : [พันสา] น. ช่วงระยะเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน เช่น เข้าพรรษา จําพรรษา; ปี เช่น บวช ๓ พรรษา, (ราชา) มีพระชนมายุ ๒๕ พรรษา. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส, วสฺสาน).
  6. แพศย์ : [แพด] น. คนในวรรณะที่ ๓ แห่งสังคมฮินดู ซึ่งมี๔วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร. (ส. ไวศฺย, ป. เวสฺส).
  7. วิศว : [วิดสะวะ] ว. ทั้งหมด, ทั้งปวง. (ส. วิศฺว; ป. วิสฺส).
  8. เวศย์ : (ส. ไวศฺย; ป. เวสฺส).
  9. เวสสะ : น. พ่อค้า. (ป. เวสฺส; ส. ไวศฺย).

Budhism Thai-Thai Dict : วสฺส, 1 found, display 1-1
  1. จำพรรษา : อยู่ประจำวัด ๓ เดือนในฤดูฝน คือ ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ (อย่างนี้เรียกปุริมพรรษา แปลว่า พรรษาต้น) หรือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำเดือน ๙ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ (อย่างนี้เรียก ปัจฉิมพรรษา แปลว่า พรรษาหลัง); วันเข้าพรรษาต้น คือ แรม ๑ ค่ำเดือน ๘ เรียกว่า ปุริมิกา วัสสูปนายิกา, วันเข้าพรรษาหลัง คือ แรม ๑ ค่ำเดือน ๙ เรียกว่า ปัจฉิมิกา วัสสูปนายิกา ; คำอธิษฐานพรรษา ว่า อิมสฺมึ วิหาเร อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ ; ทุติยมฺปี อิมสฺมึ....; ตติยมฺปิ อิมสฺมึ....แปลว่า ข้าพเจ้าเข้าอยู่จำพรรษาตลอด ๓ เดือนในวัดนี้ (วิหาเร จะเปลี่ยนเป็น อาวาเส ก็ได้) ; อานิสงส์การจำพรรษามี ๕ อย่าง คือ ๑.เที่ยวไปไม่ต้องบอกลา ๒.จาริกไปไม่ต้องเอาไตรจีวรไปครบสำรับ ๓.ฉันคณโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ ๔.เก็บอดิเรกจีวรได้ตามปรารถนา ๕.จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้น เป็นของได้แก่พวกเธอ อานิสงส์ทั้ง ๕ นี้ได้ชั่วเวลาเดือนหนึ่ง นับแต่ออกพรรษาแล้ว คือ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ นอกจากนั้นยังได้สิทธิที่จะกรานกฐิน และได้รับอานิสงส์ ๕ นั้น ต่อออกไปอีก ๔ เดือน (ภิกษุผู้เข้าพรรษาแล้วหลัง ไม่ได้อานิสงส์หรือสิทธิพิเศษเหล่านี้)

ETipitaka Pali-Thai Dict : วสฺส, more than 5 found, display 1-5
  1. วสฺส : ป., นป. ฝน, ปี, ฤดูฝน
  2. กากวสฺส : ป. เสียงร้องของกา, เสียงร้องดุจเสียงกา
  3. ฆนเมฆวสฺส : (นปุ.) ฝนอันเกิดจากเมฆเป็น ก้อน, ฝนลูกเห็บ.
  4. ปาสาณวสฺส : นป. ฝนหิน, ฝนที่เป็นหิน (ซึ่งอาฬวกยักษ์บันดาลให้ตกลงมาเพื่อทำร้ายพระโคตมพุทธ)
  5. ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : วสฺส, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : วสฺส, 6 found, display 1-6
  1. ปี : สมํ, สํวจฺฉโร, สํวจฺฉรํ, วสฺสํ, สกํ
  2. ผิดกัน, ต่างกัน : วิเสโส
  3. ฝน : วสฺโส, เทโว, วุฏฺฐิ, วสฺสํ [อิ.]
  4. ฝนตก : วสฺโส วสฺสติ, ปวสฺสติ
  5. พรรษา : วสฺโส
  6. แพะ : อโช, วสฺโส

(0.1121 sec)