Dictionary
: English, Thai, Pali.
Link :
Lexitron
,
RoyDict
,
BudDict
,
ETipitaka
,
PpmDict
,
Longdo
.
Enter word :
(use % for wildcard)
Search:
วะจะ
, then
วจ
,
วะจะ
,
วาจา
.
Eng-Thai Lexitron Dict
:
วะจะ
, 11 found, display 1-11
insult
:
(N)
;
วาจาหยาบคาย
;
Related:
คำหยาบ
, การกระทำที่หยาบคาย
;
Syn:
rudeness
;
Ant:
compliment
,
praise
acrid
:
(ADJ)
;
ดุเดือด (คำพูด, กิริยาวาจา)
;
Related:
รุนแรง
,
เผ็ดร้อน
;
Syn:
sarcastic
,
caustic
acrimonious
:
(ADJ)
;
เผ็ดร้อน (คำพูด, กิริยาวาจา)
;
Syn:
sharp
,
bitter
,
caustic
veraciously
:
(ADV)
;
อย่างมีวาจาสัตย์
veraciousness
:
(N)
;
การมีวาจาสัตย์
vitriolic
:
(ADJ)
;
ซึ่งใช้วาจาเจ็บแสบทำลายความรู้สึกคนอื่น
;
Related:
แสบไส้,
เผ็ดร้อน
;
Syn:
caustic
viva voce
:
(ADJ)
;
โดยวาจา
viva voce
:
(ADV)
;
โดยวาจา
tart 1
:
(ADJ)
;
(ปาก) จัด
;
Related:
(วาจา) เผ็ดร้อน
parol
:
(ADJ)
;
โดยคำพูด
;
Related:
โดยวาจา
veracious
:
(ADJ)
;
ซึ่งพูดความจริง
;
Related:
ซึ่งมีวาจาสัตย์,
ซื่อสัตย์
;
Syn:
honest
,
truthful
;
Ant:
dishonest
,
mendacious
Thai-Eng Lexitron Dict
:
วะจะ
, more than 7 found, display 1-7
วาจา
:
(N)
;
speech
;
Related:
words
,
discourse
,
remark
,
vocable
,
utterance
;
Syn:
ถ้อยคำ
,
คำกล่าว
,
คำพูด
,
คำ
,
วจี
;
Samp:
เขาสำรวมกายวาจาใจของเขาได้เป็นอย่างดี
โดยวาจา
:
(ADV)
;
in words
;
Related:
in speech, on one's words
;
Syn:
ด้วยวาจา, โดยคำพูด
;
Samp:
เราสามารถทำให้ผู้อื่นศรัทธาได้โดยวาจา
กลั้นวาจา
:
(V)
;
hold one's tongues
;
Ant:
เอ่ยวาจา, เปล่งวาจา
;
Samp:
ทุกคนต่างกล่าวร้ายพาดพิงถึงเขา แต่เขาก็กลั้นวาจา ไม่ต่อล้อต่อเถียงกับพวกเขาเหล่านั้น
มิจฉาวาจา
:
(N)
;
wrong saying or language
;
Related:
wrong utterance or speech
;
Ant:
สัมมาวาจา
;
Def:
การเจรจาถ้อยคำผิด, ประพฤติวจีทุจริต
;
Samp:
เขาอาศัยมิจฉาวาจาในการหาเสียง
มิจฉาวาจา
:
(N)
;
wrong saying or language
;
Related:
wrong utterance or speech
;
Ant:
สัมมาวาจา
;
Def:
การเจรจาถ้อยคำผิด, ประพฤติวจีทุจริต
;
Samp:
เขาอาศัยมิจฉาวาจาในการหาเสียง
กรรมวาจา
:
(N)
;
declaration
;
Related:
deed by word, ecclesiastical edict
;
Syn:
คำประกาศ
;
Def:
คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์
;
Samp:
ท่านเจ้าอาวาสได้แสดงกรรมวาจาต่อพระภิกษุ
ลั่นวาจา
:
(V)
;
give one's word
;
Syn:
ลั่นปาก
,
ลั่นคำ
, ลั่นคำพูด
;
Def:
พูดเป็นเชิงให้สัญญา, ให้คำมั่น
;
Samp:
จอมพลสฤษดิ์นายกฯ สมัยนั้นแค้นมาก ลั่นวาจาว่า เราจะไม่ยอมเสียดินแดนอีกต่อไป
Thai-Eng Lexitron Dict
:
วะจะ
, more results...
Royal Institute Thai-Thai Dict
:
วะจะ
, more than 5 found, display 1-5
วาจา
:
น. ถ้อยคํา, คํากล่าว, คําพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. (ป., ส.).
วจนะ
:
[
วะจะ
] (แบบ) น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป., ส.).
วาจาไปยะ
:
(แบบ) น. คําอ่อนหวาน. (ป. วาจาเปยฺย, วาชเปยฺย).
กรรมวาจา
:
[กำมะ-] น. คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์. (สฺ กรฺม + วาจา = คำ; ป. กมฺม + วาจา).
ผิดวาจา
:
ว. ไม่รักษาคำพูด, ผิดคำพูด ก็ว่า.
Royal Institute Thai-Thai Dict
:
วะจะ
, more results...
Budhism Thai-Thai Dict
:
วะจะ
, more than 5 found, display 1-5
วาจา
:
คำพูด, ถ้อยคำ
วาจาชอบ
:
ดู
สัมมาวาจา
วาจาชั่วหยาบ
:
ในวินัยหมายถึงถ้อยคำพาดพิงทวารหนักทวารเบาและเมถุน ดู
ทุฏฐุลลวาจา
ทุฏฐุลลวาจา
:
วาจาชั่วหยาบ เป็นชื่ออาบัติสังฆาทิเสสข้อที่ ๓ ที่ว่าภิกษุผู้มีความกำหนัด พูดเคาะมาตุคามด้วย วาจาชั่วหยาบ คือ พูดเกี้ยวหญิง กล่าววาจาหยาบโลมพาดพิงเมถุน
ปิยวาจา
:
วาจาเป็นที่รัก, พูดจาน่ารัก น่านิยมนับถือ, วาจาน่ารัก, วาจาที่กล่าวด้วยจิตเมตตา, คำที่พูดด้วยความรักความปรารถนาดี เช่น คำพูดสุภาพอ่อนโยน คำแนะนำตักเตือนด้วยความหวังดี ดู
สังคหวัตถุ
Budhism Thai-Thai Dict
:
วะจะ
, more results...
ETipitaka Pali-Thai Dict
:
วะจะ
, more than 5 found, display 1-5
วจ
:
ป., นป. คำพูด, การกล่าว
วาจา
:
อิต. การกล่าว, คำพูด
ทุวจ
:
(วิ.) ผู้อัน...ว่าได้โดยยาก (ว่ายากสอน ยาก). ทุกฺข+วจฺ ธาตุ อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ข ปัจ. ลบ กฺข. ผู้มีวาจาอันโทษประทุษร้ายแล้ว ทุฏฺฐ+วจ. ผู้มีถ้อยคำชั่ว ผู้มีถ้อยคำหยาบ ทุ + วจ หรือ ทุฏฺฐ+วจ.
วาจานุรกฺขี
:
ค. ผู้รักษาตามคำพูด
ฉปฺปญจวาจา
:
(อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
ETipitaka Pali-Thai Dict
:
วะจะ
, more results...
Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict
:
วะจะ
, 8 found, display 1-8
คำ
:
กถา, วาจา, วจี, วจนํ
วาจาไพเราะ
:
มธุรวาจา, วิสฏ
วาจาสุภาพ
:
สนฺตวจ
มีวาจาไพเราะ
:
มธุรวาจา, วคฺคุคฺท
การสวดกรรม
:
กมฺมวาจา [อิ.]
คลื่น
:
อูมิ, วีจิ
ไพเราะ
:
มธุรวาจา, วคฺคุคฺท
ระลอกคลื่น
:
อูมิ, วีจิ [อิ.]