วาม : ค. ซ้าย
วามปสฺส : นป. ข้างซ้าย
ปฏิวามคต : อ. (ลูกศรเข้าทางขวา) ทะลุซ้าย
อนฺวามทฺทติ : ก. บีบ, คั้น
ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
ตกฺกิก : ค. ผู้มีคววามตรึก, ผู้มีความคิดคาดคะเน
ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
อวมานิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ฯลฯ. วิ. เหฏฺฐากตฺวามญฺญตีติอวมานิโต.
อสฺสยุช : (ปุ.) อัสสยุชะชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๑ ใน๒๗ กลุ่มมี๗ ดวงอภิฯ ว่ามี ๓ ดวง, ดาวม้า. อสฺส รูปโยคโต อสฺสยุโช. ส.อศฺวยุชอสฺวินี.