บัณฑิต : ผู้มีปัญญา, นักปราชญ์, ผู้ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา
วิทยา : ความรู้
บัณฑิตชาติ : เผ่าพันธุ์บัณฑิต, เหล่านักปราชญ์, เชื่อนักปราชญ์
วิทยาธร : “ผู้ทรงวิทยา”, ผู้มีวิชากายสิทธิ์, ผู้มีฤทธิ์ที่สำเร็จด้วยวิทยาอาคมหรือของวิเศษ, พ่อมด
พุทธาทิบัณฑิต : บัณฑิตมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น (พุทธ+อาทิ+บัณฑิต)
อวิทยา : ความไม่รู้, อวิชชา
กัลยาณคุณ : คุณอันบัณฑิตพึงนับ, คุณธรรมที่ดีงาม, คุณงามความดี
ตจปัญจกกัมมัฏฐาน : กัมมัฏฐานมีหนังเป็นที่คำรบ ๕, กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนังเป็นที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กัมมัฏฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนของร่างกาย ๕ อย่าง คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง โดยความเป็นของปฏิกูล หรือโดยความเป็นสภาวะอย่างหนึ่งๆ ตามที่มันเป็นของมัน ไม่เอาใจเข้าไปผูกพันแล้วคิดวาดภาพใฝ่ฝันตามอำนาจกิเลส พจนานุกรมเขียน ตจปัญจกกรรมฐาน เรียกอีกอย่างว่า มูลกัมมัฏฐาน (กัมมัฏฐานเบื้องต้น)
ณฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในความรู้, นักปราชญ์, บัณฑิต, ณัฏฐ์, ณัฐ. วิ. ญาณสฺมึ ฐิโตติ ณฏฺโฐ ญาณ+ฐ+ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
ปณฺฑิต : ค., ป. ฉลาด; บัณฑิต, คนฉลาด
ทพฺพ. : (ปุ.) บุคคลผู้ควรหลุดพ้น, บุคคลผู้ควรบรรลุมรรคผล. บัณฑิต. ทุ วุฒิยํ, อพฺโพ.
สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
ETipitaka Pali-Thai Dict : วิทยาศาสตรบัณฑิต, more results...