สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
เทวคห, - คหณ : ค. (ไม้) ซึ่งพระราชาผู้สมมติเทพทรงหวงแหน, ซึ่งเป็นของหลวง
อสมฺมต : ค. ไม่ถูกสมมติ, ไม่ถูกแต่งตั้ง, ไม่ถูกอนุมัติ
สมฺมต : (ปุ.) คำอันบุคคลพึงรู้ตาม, ถ้อยคำอันบุคคลพึงรู้ตาม. วิ. สมฺมนนิตพฺโพติ สมฺมโต. อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ. วิ. สมฺมนนํ สมฺมโต. สํปุพฺโพ, มนฺ โพธเน, ตกฺ ปจฺจโย. ลบที่สุดธาตุและ กฺ กัจฯ ๖๔๓.
สมฺมติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ, วิชาว่าด้วยระเบียบ. ติ ปัจ.
ตุลฺย : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, วิ. ตุลาย สมฺมิโต ตุโลฺย. ตุลาย ตุลนาย สมฺมิโต สมํ มิเณตพฺโพ ตุโลฺย. อภิฯ.
มูลฺย : (นปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ, รางวัล. วิ. มูเลน สมฺมิตํ มูลฺยํ. ณฺย ปัจ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ วา, โย.