สมัย : [สะไหฺม] น. เวลา, คราว, เช่น สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยปัจจุบัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาล เป็น กาลสมัย. (ป., ส.).
ปาง ๑ : น. ครั้ง, คราว, เมื่อ, เช่น ปางก่อน ปางหลัง, ยุค, สมัย, เช่น นารายณ์ ๑๐ ปาง; ท่าของพระพุทธรูปที่แสดงถึงอิริยาบถต่าง ๆ เช่น พระพุทธรูปปางห้ามญาติ; ที่พักกลางป่าชั่วคราว เช่น ตั้งปาง.
หลัง ๑ : น. ซีกของกายที่ตรงข้ามกับหน้าอก; ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับด้านหน้าของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง; ส่วนเบื้องบน เช่น หลังมือ หลังเท้า. ว. อยู่ตรงข้ามกับ ข้างหน้า, ตรงข้ามกับ ก่อน (ใช้แก่เวลาที่ผ่านพ้นไปแล้ว), ในลําดับถัดไป เช่น คนหลัง; ลักษณนามเรียกเรือนหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างเรือนว่า หลัง เช่น เรือนหลังหนึ่ง ศาลา ๒ หลัง.
หลัง ๒ : ก. หลง มักใช้เข้าคู่กับคํา บ้า เป็น บ้าหลัง.
จังหล่อ : น. เครื่องกีดกั้นขวางทางในสมัยโบราณ ปักเสาสูงราว ๒ ศอก มีไม้เสาทับ หลัง ขวางถนนเป็น ๒ แนวเยื้องไม่ตรงกัน ปลายต่อปลายเกินกันทั้ง ๒ ข้าง, ค่ายผนบ บ้านหล่อ จั้นหล่อ หรือ จำหล่อ ก็เรียก. (ลำดับสกุลเก่า; ลัทธิ). (จ. จั้ง ว่า กีด, ขวาง; โหล่ว ว่า ถนน).
Royal Institute Thai-Thai Dict : สมัยหลัง, more results...
กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
กาลนฺตร : นป. ระหว่างกาลเวลา, กาล, สมัย
ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
ETipitaka Pali-Thai Dict : สมัยหลัง, more results...